Page 88 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 88

226 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก     ปีที่ 17  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2562




             โลหิต และอัตราการเต้นของชีพจรขณะพักของกลุ่ม  ของหัวใจก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรม มีเปอร์เซ็นต์
             ทดลองไม่แตกต่างกันระหว่างก่อนและหลังเข้าร่วม  การเปลี่ยนแปลงยังไม่ชัดเจน ซึ่งการศึกษาควรใช้เวลา
             โปรแกรมออกกำาลังกายเนื่องจากผู้เข้าร่วมโปรแกรม   ในการศึกษาให้นานขึ้น และมีความถี่ในการฝึกให้มาก

             มีการกำาหนดลมหายเข้าออกน้อย ในระหว่างการฝึก  ขึ้น อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง เป็นเวลา 8 สัปดาห์ขึ้น
             ปฏิบัติท่าฤๅษีดัดตน [17]                    ไป เพื่อให้มีผลความต่างชัดเจนมากยิ่งขึ้น และควรใช้

                                                         สถิติเชิงอนุมานในการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อสามารถนำา
             3. ก�รเปรียบเทียบผลจ�กก�รฝึกฤๅษีดัดตน       ไปสรุปผลการศึกษาอ้างถึงประชากรได้

                กับก�รทำ�สม�ธิแบบ TM                         การจัดโปรแกรมการโดยใช้การฝึกท่าฤๅษี

                   เมื่อเปรียบเทียบกับการทำาสมาธิแบบ TM แล้ว   ดัดตนในครั้งต่อไป ควรมีการประเมินผลจากผู้
             การฝึกฤๅษีดัดตนจะใช้เวลาฝึกต่อครั้งนานกว่า 15-  เข้าร่วมวิจัย และผู้ปกครองของผู้เข้าร่วมวิจัย ด้าน

             20 นาที แต่การทำาสมาธิแบบ TM ใช้ความถี่ในการ  การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เข้าร่วมวิจัย และ
             ฝึกมากกว่า โดยทำาการฝึก 2 ครั้ง/วัน ครั้งละ 10-15   ความพึงพอใจในโปรแกรม รวมถึงการตรวจวัด
             นาที เป็นระยะเวลา 3 เดือน จึงจะส่งผลให้มีสมาธิ  ค่าคลื่นสมอง  เพื่อให้ผลการศึกษามีความชัดเจน

             มากขึ้น พฤติกรรมเป็นปกติมากขึ้น สามารถควบคุม  และมีความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น ควรมีการจัดสภาพ
             อารมณ์ได้ดีขึ้น มีทักษะในการจัดการดีขึ้น ช่วยลด  แวดล้อมที่ไม่มีสิ่งรบกวนจากภายนอก และให้มี
             ภาวะเครียดและความกังวล และยังมีผลต่อการทำางาน  บรรยากาศที่เหมาะสมกับลักษณะของเด็กสมาธิสั้น

             ของสมองอีกด้วย [18-19]  แต่ในการศึกษาครั้งนี้ยังไม่มี  เช่น ควรจัดให้มีห้องจัดกิจกรรมสำาหรับผู้เข้าร่วม
             การศึกษาเกี่ยวกับผลของการฝึกฤๅษีดัดตนต่อการ  วิจัยโดยเฉพาะ ไม่ให้มีนักเรียนคนอื่นที่ไม่ได้อยู่ใน
             ทำางานของสมอง จึงควรมีการศึกษาต่อไป         โปรแกรม อยู่ในห้องกับผู้เข้าร่วมวิจัย ไม่มีอุปกรณ์

                                                         อื่น ๆ ที่ดึงดูดความสนใจผู้เข้าร่วมวิจัย เป็นต้น
                             ข้อสรุป                     เนื่องจากเด็กสมาธิสั้นจะมีการตอบสนองต่อสิ่งรอบ


                 การศึกษาครั้งนี้มีข้อจำากัดเรื่องการยินยอมให้  ตัวได้ง่าย และควรทำาการศึกษาในกลุ่มตัวอย่างที่มี
             เข้าร่วมโครงการจากผู้ปกครองในหลายโรงเรียนที่มี  ขนาดใหญ่ขึ้น
             เด็กพิเศษ มีเพียงโรงเรียนวัดโสมนัสเพียงโรงเรียน

             เดียวที่คุณครูและผู้ปกครองของกลุ่มตัวอย่าง 4 คน       กิตติกรรมประก�ศ
             ยินยอมให้ทำาการศึกษา โดยให้กลุ่มตัวอย่างทำาการ     คณะผู้วิจัยขอขอบคุณผู้อำานวยการโรงเรียน

             ฝึกท่าฤๅษีดัดตนจำานวน 5 ท่า รวมระยะเวลาทั้งหมด   วัดโสมนัส จังหวัดกรุงเทพมหานคร ในการอนุญาต
             30 นาที/ครั้ง สัปดาห์ละ 1 ครั้งเป็นเวลา 6 สัปดาห์ มี  ให้เป็นสถานที่สำาหรับดำาเนินการทดลองการวิจัย
             ผลทำาให้อาการอยู่ไม่นิ่ง/หุนหันพลันแล่น และไม่มี  คุณครูฐิติมา ดวงแก้ว และครูพี่เลี้ยง ที่คอยอำานวย

             สมาธิลดลง ซึ่งผลจากการสังเกตพฤติกรรมของเด็ก  ความสะดวก และประสานงานผู้ปกครองและนักเรียน
             สมาธิสั้นจากผลการวิจัยสอดคล้องกับครูผู้ดูแล แต่  และขอขอบใจนักเรียนกลุ่มตัวอย่างของโรงเรียนวัด
             ผลจากการวัดค่าความดันโลหิต และค่าอัตราการเต้น  โสมนัสทุกคน ที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93