Page 87 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 87

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 17  No. 2  May-Aug 2019  225




              ในช่วงเริ่มต้นของกิจกรรม จึงสามารถปฏิบัติสมาธิ  ทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน และไม่ต้องใช้อุปกรณ์เพื่อ
              โดยการนอนนิ่ง ๆ ได้ดีขึ้น นอนนิ่งได้นานมากกว่า  ดำาเนินกิจกรรม ต่างจากการวิจัยของยุวดี และคณะ
              ตอนก่อนได้รับโปรแกรม ซึ่งสอดคล้องกับแนวความ  ที่มีการออกแบบชุดอุปกรณ์การระบายสี สำาหรับเด็ก

              คิดการออกแบบโครงการแหล่งเรียนรู้และพัฒนา    สมาธิสั้น ซึ่งใช้อุปกรณ์ในการดำาเนินกิจกรรมหลาย
              สมาธิเด็กของอาชาวีย์ โดยคำานึงถึงการวางผังตาม  ชิ้น ต้องมีการฝึกอย่างต่อเนื่องและบ่อย ๆ เพื่อให้ชุด

              ลำาดับของลักษณะกิจกรรมการบำาบัดที่เหมาะสมกับ  อุปกรณ์การระบายสีมีผลทำาให้เด็กสมาธิสั้นเกิดความ
              เด็กสมาธิสั้น คือ Adventure Zone (พื้นที่สำาหรับ  ชอบ สามารถจินตนาการถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึก
              เคลื่อนไหวออกแรง) Relax zone (พื้นที่สำาหรับฝึก  ของตนเองออกมาได้ และมีสมาธิจดจ่ออยู่นิ่งได้นาน

              ผ่อนคลาย) Learning Zone (พื้นที่สำาหรับฝึกเรียน  มากขึ้น  เมื่อผู้เข้าร่วมวิจัยได้รับโปรแกรมไปแล้ว
                                                               [15]
              รู้) ตามลำาดับเพื่อเป็นการลดพลังงานในตัวเด็กลง    3 สัปดาห์ จะมีสมาธิมากขึ้น อาการอยู่ไม่นิ่งลดลง

              ส่งผลให้เด็กเกิดสภาวะสมาธิพร้อมเรียนรู้มากขึ้น    อย่างชัดเจน สังเกตได้จากพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลง
                                                    [13]
              การฝึกท่าฤๅษีดัดตนถือเป็นการปฏิบัติสมาธิแบบ  ไป เช่น มือเท้าขยุกขยิกน้อยลง พูดน้อยลง พูดแทรก
              เคลื่อนไหว ทำาให้กิจกรรมเพิ่มสมาธิในเด็กสมาธิสั้นมี  น้อยลง ฟังผู้อื่นพูดมากขึ้น วอกแวกน้อยลง เป็นต้น

              ความน่าสนใจมากกว่าการทำาสมาธิแบบไม่เคลื่อนไหว   ซึ่งใช้ระยะเวลาน้อยกว่าจากการศึกษาของธนานิษฐ์
              จากการสังเกต พบว่าผู้เข้าร่วมวิจัยให้ความสนใจและ  และระวิวรรณ ได้สร้างกิจกรรมโดยการประยุกต์ใช้
              มีสมาธิกับกิจกรรมฝึกท่าฤๅษีดัดตนได้ดีกว่ากิจกรรม  หุ่นสายเสมามาผสมผสานกับทฤษฎี แรงจูงใจของ

              ฝึกสมาธิในท่านอน สามารถทำาตามเงื่อนไขหรือขั้น  เฮอร์ซเบอร์ก เพื่อส่งเสริมให้มีการปรับพฤติกรรมที่
              ตอนของกิจกรรมฝึกท่าฤๅษีดัดตนได้ถูกต้องมากกว่า   นิ่งขึ้น ซึ่งใช้ระยะเวลาในการทำากิจกรรม จำานวน 4
              พฤติกรรมของภาวะสมาธิสั้นน้อยกว่าการฝึกสมาธิ  สัปดาห์  สัปดาห์ละ 3 ครั้ง เป็นจำานวนทั้งสิ้น 12 ครั้ง

              ในท่านอน เช่น มือเท้าขยุกขยิก เดินไปมาโดยไม่มี  ครั้งละ 40 นาที [16]
              สาเหตุ เป็นต้น

                   จากการศึกษาของนันทิดา และคณะ พบว่า     2.  ผลของค่�คว�มดันโลหิตและอัตร�ก�รเต้น
              หน่วยงานต่าง ๆ ยังไม่ได้รับการสนับสนุน จากบุคคล  ของหัวใจ
              ภายนอกหรือหน่วยงานอื่น ๆ เท่าที่ควร หน่วยงาน     มีการเปลี่ยนแปลงลดลงหลังเข้าร่วมกิจกรรม

              ต่าง ๆ มีปัญหาในเรื่องความเหมาะสมของเวลาใน  แต่ในสัปดาห์ที่ 2 อัตราการเต้นของหัวใจไม่ลด
              การจัด โปรแกรมส่งเสริมการเรียนรู้ ขาดอุปกรณ์  เนื่องจากมีผู้เข้าร่วมโปรแกรม 1 คนที่มีพฤติกรรม

              และสื่อที่ใช้จัดโปรแกรมควรได้รับการสนับสนุน  อยู่ไม่นิ่งตลอดเวลา ทำาให้อัตราการเต้นของหัวใจหลัง
              มากขึ้น  ซึ่งโปรแกรมการแพทย์แผนไทยประยุกต์  เข้าร่วมกิจกรรมสูงกว่าก่อนเข้าร่วมกิจกรรม หรืออาจ
                    [14]
              โดยใช้การฝึกท่าฤๅษีดัดตน เพื่อเพิ่มสมาธิในเด็ก  เป็นไปตามผลการใช้โปรแกรมออกกำาลังกายแบบ

              สมาธิสั้น เป็นโปรแกรมที่ใช้เวลาเพียงแค่ 30 นาที/  กายบริหารท่าฤๅษีดัดตนต่อการลดความดันโลหิต
              ครั้ง ครั้งละ 1 สัปดาห์ ซึ่งเป็นระยะเวลาที่สั้น และ  และเพิ่มสมรรถภาพทางกายของผู้สูงอายุโรคความ
              ไม่ถี่เกินไป สามารถหาช่วงเวลาให้เด็กทำาได้โดยง่าย  ดันโลหิตสูง พบว่า สมรรถภาพทางกายด้านความดัน
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92