Page 86 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 86
224 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2562
ร่วมวิจัยมีอารมณ์ที่เย็นลง พฤติกรรมค่อย ๆ นิ่งลง
สามารถควบคุมตัวเองได้มากขึ้นเรื่อย ๆ จนทำาให้
เกิดมีสมาธิมากขึ้น และการตั้งชื่อท่าใหม่ ให้มีความ
สอดคล้องกับท่าทางของฤๅษีดัดตน และชื่อทั้ง 5 ชื่อ
มีความคล้องจองกัน เพื่อให้ง่ายต่อการจดจำามากยิ่ง
ขึ้น รวมถึงระยะเวลาในการอยู่นิ่งค้างไว้ในแต่ละท่า
ให้สั้นลง เพื่อให้ไม่เกิดความกดดันหรือบีบบังคับผู้
ภาพที่ 4 แนวโน้มภาวะสมาธิสั้นในแต่ละกลุ่มอาการ
เข้าร่วมวิจัยมากเกินไปในการทำากิจกรรม แต่ยังคง
การฝึกการหายใจเข้า-ออก ขณะทำาท่าฤๅษีดัดตน
และ 4) อยู่ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมวิจัยยังคงมีสติอยู่กับท่าที่กำาลัง
จากภาพที่ 3 และ 4 สรุปได้ว่า พฤติกรรมภาวะ ปฏิบัติ ในขณะที่กำาลังจะเปลี่ยนรอบของท่า จะให้ผู้
สมาธิสั้นในกลุ่มอาการอยู่ไม่นิ่ง หุนหันพลันแล่น และ เข้าร่วมวิจัยพัก 10 วินาที เพื่อป้องกันการบาดเจ็บของ
กลุ่มอาการไม่มีสมาธิลดลงอย่างต่อเนื่อง ในทุก ๆ กล้ามเนื้อ ขั้นตอนของการฝึกท่าฤๅษีดัดตนนั้นมีราย
พฤติกรรม หลังเข้าร่วมโปรแกรมการแพทย์แผนไทย ละเอียดมาก สามารถทำาให้รู้ว่าผู้เข้าร่วมวิจัย มีความ
ประยุกต์โดยใช้การฝึกท่าฤๅษีดัดตน เพื่อเพิ่มสมาธิใน ตั้งใจฟัง มีความอดทน ต่อการทำากิจกรรมได้มากน้อย
เด็กสมาธิสั้น เป็นเวลา 6 สัปดาห์ เพียงใด จึงสามารถทำาท่าฤๅษีดัดตนแต่ละท่าได้อย่าง
ถูกต้องตามขั้นตอนทุกขั้นตอน เริ่มแรกของการฝึก
อภิปร�ยผล ท่าฤๅษีดัดตนเริ่มจากท่าอรุณเบิกฟ้า เป็นท่าที่มีการ
เคลื่อนไหวมากโดยการเหยียดแขนไปในทิศต่าง ๆ
1. ผลของภ�วะสม�ธิสั้น
ท่าต่อไปคือ ท่าสกุณาลู่ลม เป็นท่าที่ใช้ร่างกายหลาย
จากผลการวิจัยผลของการเพิ่มสมาธิโดยใช้ ส่วนมากขึ้นตั้งแต่คอ อก แขน ขา ท่าเทพพนมทรงกาย
การฝึกท่าฤๅษีดัดตน เพื่อเพิ่มสมาธิในเด็กสมาธิ เป็นการฝึกการทรงตัว ซึ่งต้องมีสมาธิเข้ามาเกี่ยวข้อง
สั้น สามารถทำาให้เด็กสมาธิสั้นมีสมาธิมากขึ้น คือ ร่วมกับกล้ามเนื้อขาที่แข็งแรงจึงจะสามารถทรงตัว
กลุ่มอาการหุนหันพลันแล่นและอยู่ไม่นิ่ง และกลุ่ม อยู่ได้ ท่าที่สี่คือ ท่าสบายอุรา เป็นท่าเตรียมเพื่อเข้า
อาการไม่มีสมาธิลดลงกว่าก่อนได้รับโปรแกรม สู่การมีสมาธิมากขึ้นการเคลื่อนไหวของร่างกายน้อย
เนื่องจากโปรแกรมที่สร้างขึ้นเป็นการนำาการฝึกท่า ลง เคลื่อนไหวเพียงแค่ส่วนบนเท่านั้นคือ แขน อก
ฤๅษีดัดตน เป็นวิธีการบริหารร่างกายที่เป็นภูมิปัญญา และคอ และท่าสุดท้ายท่าราตรีสวัสดิ์มีการเคลื่อนไหว
ไทย มาประยุกต์ใช้ด้วยกันจำานวน 5 ท่า ซึ่งการวิจัย เพียงส่วนเดียวคือ ข้อไหล่ และจะมีการทำาสมาธิต่ออีก
ได้ดัดแปลง เพื่อให้เหมาะสมกับความสามารถของ 5 นาที ซึ่งท่าราตรีสวัสดิ์เป็นท่าที่มีการเคลื่อนไหวช้า
ผู้เข้าร่วมวิจัย มีความง่ายของท่ามากขึ้น มีความต่อ ที่สุด และส่วนของร่างกายเคลื่อนไหวน้อยที่สุด ราย
เนื่องของท่าจากท่ายืนเป็นท่านอน มีการเคลื่อนไหว ละเอียดของขั้นตอนในการทำาน้อยที่สุด ทำาให้ผู้เข้า
จากท่าแรกถึงท่าสุดท้ายช้าลงเรื่อย ๆ เพื่อให้ผู้เข้า ร่วมวิจัยสามารถควบคุมตัวเองให้อยู่นิ่งได้มากกว่า