Page 82 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 82

220 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก     ปีที่ 17  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2562




             ร่วมวิจัยกรอกใบสมัครเข้าร่วมวิจัย และลงลายมือ  ดัดตนแล้ว ให้ครูประจำาชั้นทำาการสังเกตพฤติกรรม
             ชื่อในหนังสือแสดงความยินยอมการเข้าร่วมวิจัย   ภาวะสมาธิสั้นของผู้เข้าร่วมวิจัยทุกวัน เป็นเวลา 7
             (informed consent form) และทำาการคัดเลือกกลุ่ม  วัน แล้วบันทึกข้อมูลภาวะสมาธิสั้นของผู้เข้าร่วมวิจัย

             ตัวอย่างตามเกณฑ์คัดเข้าได้จำานวน 4 คน       ลงในแบบรวบรวมข้อมูลภาวะสมาธิสั้น (สำาหรับครู)
                   3.4 การวิจัยเริ่มดำาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ตาม  สัปดาห์ละ 1 ครั้ง จำานวน 6 ครั้ง

             โปรแกรม ดังนี้
                   1) ครูประจำาชั้นที่ได้รับการชี้แจงแนวทางการ        ผลก�รศึกษ�
             เก็บรวบรวมข้อมูลแล้ว นำาแบบรวบรวมข้อมูลภาวะ

             สมาธิสั้น (สำาหรับครู) ไปทำาการประเมินภาวะสมาธิ  1.  ผลก�รศึกษ�ภ�วะสม�ธิสั้นก่อนเข้�ร่วม
             สั้นของผู้เข้าร่วมวิจัย จากการสังเกตพฤติกรรมภาวะ  โปรแกรม

             สมาธิสั้นในสัปดาห์ที่ผ่านมา ก่อนที่ผู้เข้าร่วมวิจัยได้     ขณะทำากิจกรรมดูวิดีโอความรู้เบื้องต้นโรค
             รับโปรแกรม                                  สมาธิสั้น 10 นาที และการฝึกท่าฤๅษีดัดตน 15 นาที
                   2) ก่อนผู้เข้าร่วมวิจัยฝึกท่าบริหารฤๅษี  การวิจัยครั้งนี้ได้สังเกตพฤติกรรมของกลุ่มทดลอง

             ดัดตนครั้งแรก มีการนัดผู้เข้าร่วมวิจัย มาดูวิดีโอ  ผลการสังเกตมีดังนี้
             เกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นของโรคสมาธิสั้น และวิธีการ     1)  ความหุนหันพลันแล่นและการอยู่ไม่นิ่ง
             ฝึกท่าบริหารฤๅษีดัดตน เป็นระยะเวลา 20 นาที ขณะ       พฤติกรรมของกลุ่มทดลองที่สามารถสังเกต

             เดียวกันผู้วิจัยทำาการสังเกตและบันทึกพฤติกรรม  ได้ คือ กลุ่มทดลองมีความสนใจประมาณ 3 นาทีแรก
             ภาวะสมาธิสั้นของผู้เข้าร่วมวิจัย โดยใช้แบบรวบรวม  หลังจากนั้นเริ่มมองรอบห้อง มือเท้าขยุกขยิกขยับตัว
             ข้อมูลภาวะสมาธิสั้น                         บ่อยครั้ง เช่น เอามือป้ายหน้า ป้ายปาก ดึงกางเกง มี

                   3) หลังจากผู้เข้าร่วมวิจัยได้รับชมวิดีโอสาธิต  การเล่าเรื่องของตนเองที่เกี่ยวข้องกับตัวละครในวิดีโอ
             การฝึกท่าบริหารฤๅษีดัดตน 1 สัปดาห์ ผู้เข้าร่วมวิจัย  เป็นระยะ และพูดแทรกผู้สอนทุก ๆ 4–5 นาที เดินไป

             เริ่มฝึกปฏิบัติท่าบริหารฤๅษีดัดตน โดยการปฏิบัติตาม  เดินมาบ่อยครั้ง ไปที่โต๊ะตัวเองบ้าง เดินไปสะกิดเพื่อน
             ท่าทางและคำาแนะนำาต่าง ๆ จากวิดีโอ ประกอบด้วย  คนอื่นบ้าง
             ท่าบริหารฤๅษีดัดตน 5 ท่า โดยมีการแนะนำาผู้เข้าร่วม     2)  ความไม่มีสมาธิ

             วิจัยปฏิบัติท่าทางต่าง ๆ ให้ถูกต้อง ใช้ระยะเวลาการ       พฤติกรรมของกลุ่มทดลองที่สามารถสังเกต
             ฝึกท่าบริหารฤๅษีดัดตนครบทั้ง 5 ท่า เรียกว่า 1 รอบ   ได้ ส่วนใหญ่มีสมาธิต่อการทำาท่าฤๅษีดัดตนประมาณ

             รอบละประมาณ 15 นาที ทำาจำานวน 2 รอบ รวมเวลา  3 นาที เหม่อลอย หรือสายตามองไปที่เพื่อนบ่อย ขอ
             ทั้งหมดครั้งละ 30 นาที ในขณะการฝึกท่าบริหารฤๅษี  พักบ่อยผู้สอนจึงหยุดกิจกรรมก่อนเวลา 10 นาที
             ดัดตน จะทำาการสังเกตและบันทึกข้อมูลภาวะสมาธิ

             สั้นของผู้เข้าร่วมวิจัยลงในแบบรวบรวมข้อมูลภาวะ  2.  ผลก�รศึกษ�ภ�วะสม�ธิสั้นหลังเข้�ร่วม
             สมาธิสั้น จำานวน 6 ครั้ง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง     โปรแกรม
                   4) หลังจากผู้เข้าร่วมวิจัยได้ฝึกปฏิบัติท่าฤๅษี     1)  ความหุนหันพลันแล่นและการอยู่ไม่นิ่ง
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87