Page 80 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 80

218 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก     ปีที่ 17  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2562




             posttest design) ที่กำาลังศึกษาอยู่ในโรงเรียนวัด  ตั้งชื่อท่าใหม่ ให้มีความสอดคล้องกับท่าทางของฤๅษี
             โสมนัส ทั้งชายและหญิง ระหว่างเดือนสิงหาคมถึง  ดัดตน และชื่อทั้ง 5 ชื่อมีความคล้องจองกัน เพื่อให้
             เดือนกันยายน พ.ศ. 2561 ขนาดกลุ่มตัวอย่างคำานวณ  ง่ายต่อการจดจำาได้แก่ ท่าอรุณเบิกฟ้า ดัดแปลงจาก

             จากจำานวนเด็กที่มีภาวะสมาธิสั้นทั้งหมด 20 คน โดย  ท่าแก้เกียจ ท่าสกุณาลู่ลม ดัดแปลงจากท่าแก้แน่น
             ใช้สูตร Yamane (1973) โดยให้ความคลาดเคลื่อน  หน้าอก ท่าเทพพนมทรงกาย ดัดแปลงจากท่าดำารง
                               [12]
             ของการสุ่มตัวอย่าง e = 0.05 ในการศึกษาครั้งนี้จึง  กายอายุยืน ท่าสบายอุรา ดัดแปลงจากท่าแก้ปวดท้อง
             ใช้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 19 คน แต่มีผู้สนใจเข้าร่วม  แก้สะบักจม ท่าราตรีสวัสดิ์ ดัดแปลงจากท่าแก้ลมใน
             โครงการและได้รับการยินยอมจากผู้ปกครองเพียง   อก เป็นการฝึกสมาธิแบบเคลื่อนไหวที่ทำาง่าย ทุกคน

             4 คน คิดเป็นร้อยละ 21.05 และไม่สามารถหากลุ่ม  สามารถทำาได้ด้วยตัวเอง มีความต่อเนื่องของท่าจาก
             ตัวอย่างมาทดแทน เนื่องจากข้อจำากัดของผู้ปกครอง  ท่ายืนเป็นท่านอน มีการเคลื่อนไหวจากท่าแรกถึงท่า

             ที่ไม่ยินยอมให้เด็กเข้าร่วมโครงการทั้งในโรงเรียน   สุดท้ายช้าลงเรื่อย ๆ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมวิจัยมีอารมณ์ที่
             อื่น ๆ และโรงเรียนวัดโสมนัส และทำาการคัดเลือกกลุ่ม  เย็นลง พฤติกรรมค่อย ๆ นิ่งลง สามารถควบคุมตัวเอง
             ตัวอย่างด้วยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (purposive   ได้มากขึ้นเรื่อย ๆ จนทำาให้เกิดมีสมาธิมากขึ้น ทำาการ

             sampling) ในกลุ่มตัวอย่างจึงเป็นโรคสมาธิสั้นเพียง  ทดลองเป็นระยะเวลา 6 สัปดาห์ ในผู้ที่มีภาวะสมาธิ
             อย่างเดียว 1 คน เป็นโรคออทิสติกและโรคสมาธิสั้น  สั้นตามเกณฑ์การวินิจฉัยของกุมารแพทย์ ที่มีอายุ
             ร่วมด้วย 3 คน                               7–8 ปี โดยติดตามภาวะสมาธิสั้น คือ ความไม่มีสมาธิ

                 1.  กรอบแนวคิดการวิจัย                  ความหุนหันพลันแล่น และการอยู่ไม่นิ่ง และติดตาม
                 การศึกษาผลของการใช้โปรแกรมการฝึกท่า     การเปลี่ยนแปลงของความดันโลหิตและอัตราการเต้น
             ฤๅษีดัดตน เพื่อเพิ่มสมาธิในเด็กสมาธิสั้น จำานวน 5   ของหัวใจ ดังกรอบแนวคิดนี้

             ท่า ซึ่งได้ดัดแปลงเพื่อให้เหมาะสมกับความสามารถ     2.  การวิเคราะห์ข้อมูล
             ของผู้เข้าร่วมวิจัย มีความง่ายของท่ามากขึ้น และการ       2.1 การพรรณนาเชิงคุณภาพ เพื่อบรรยาย

























                                          ภาพที่ 1  กรอบแนวคิดในการวิจัย
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85