Page 79 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 79

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 17  No. 2  May-Aug 2019  217




              โรคสมาธิสั้นสามารถทำาได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม   ภาวะสมาธิสั้นของเด็กสมาธิสั้น โดยครูประจำาชั้นเป็น
              โดยเฉพาะการฝึกควบคุมตนเองให้มีใจจดจ่อกับ    ผู้สังเกตและบันทึกข้อมูล ประกอบไปด้วย 2 ส่วน
              กิจกรรม และกิจกรรมนั้นต้องไม่ก่อให้เกิดความน่า  คือ (1) ข้อมูลทั่วไป เป็นการสอบถามข้อมูลเกี่ยว

              เบื่อ ด้วยหลักการดังกล่าวการวิจัยนี้นำาแนวคิดการ  กับ เพศ อายุ ของกลุ่มตัวอย่าง (2) พฤติกรรมภาวะ
              ทำาสมาธิแบบ TM เป็นแนวทางในการเพิ่มสมาธิในผู้ที่  สมาธิสั้น เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประเมินค่า

              เป็นโรคสมาธิสั้นได้ เนื่องจากการทำาสมาธิวิธีนี้เป็นฝึก  4 ระดับ ได้แก่ ไม่เคย เล็กน้อย ค่อนข้างมาก บ่อย
              สติให้รู้จักคิดก่อนทำา และให้รู้ตัวอยู่เสมอว่ากำาลังทำา  มาก สอบถามข้อมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติพฤติกรรมที่
              อิริยาบถใด หรืออาจเรียกได้ว่าเป็นการทำาสมาธิแบบ  เกี่ยวข้องกับภาวะสมาธิสั้น

              เคลื่อนไหวร่างกาย ลักษณะนี้จึงสอดคล้องกับการ     ชุดที่ 2 แบบรวบรวมข้อมูลภาวะสมาธิสั้น เป็น
              ฝึกท่าบริหารฤๅษีดัดตน ซึ่งเป็นวิธีการบริหารร่างกาย  เครื่องมือสำาหรับเก็บรวบรวมข้อมูลภาวะสมาธิสั้น

              ตามหลักการแพทย์แผนไทย ที่ใช้ในสังคมไทยมาแต่  ของเด็กสมาธิสั้น โดยผู้วิจัยเป็นผู้สังเกตและบันทึก
              โบราณ กล่าวคือ เป็นการบริหารร่างกายที่เน้นการฝึก  ข้อมูลขณะดำาเนินกิจกรรม ประกอบไปด้วย 3 ส่วน
              ลมหายใจและใช้สมาธิร่วมด้วย จึงเป็นทั้งการบริหาร  คือ (1) ข้อมูลทั่วไป เป็นแบบสอบถามปลายปิด แบบ

              ร่างกายและบริหารจิตไปพร้อมกัน [9–10]  และได้ทำาการ  ตรวจรายการ เป็นการสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับ เพศ
              ศึกษาผลของการนำาการฝึกท่าฤๅษีดัดตนมาประยุกต์  อายุ ของกลุ่มตัวอย่าง (2) พฤติกรรมภาวะสมาธิสั้น
              ใช้ในการเพิ่มสมาธิให้กับผู้ที่สมาธิสั้นในวัยเด็ก ซึ่ง  เป็นแบบสังเกตพฤติกรรมของเด็กสมาธิสั้น ประเภท

              หากทำาให้ผู้ฝึกมีสมาธิเพิ่มมากขึ้นได้แล้ว อาจส่งเสริม  มีโครงสร้าง โดยการสังเกตเกี่ยวกับความไม่มีสมาธิ
              การนำาการบริหารร่างกายท่าฤๅษีดัดตนมาประยุกต์ใช้  ความหุนหันพลันแล่น และการอยู่ไม่นิ่ง และ (3)
              ในการรักษาโรคสมาธิสั้นให้แพร่หลายมากขึ้น    ข้อมูลสรีรวิทยา เป็นแบบบันทึกค่าของความดันโลหิต

                                                          และอัตราการเต้นของหัวใจ
                          ระเบียบวิธีศึกษ�
                                                              2.  การพิทักษ์สิทธิของกลุ่มตัวอย่าง
              วัสดุ                                           การศึกษาครั้งนี้ผ่านการพิจารณาจากคณะ

                   1.  เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้  กรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัย
              ทำาการศึกษา และค้นคว้าวิธีการประเมินภาวะสมาธิสั้น  เกษตรศาสตร์ ตามรหัสโครงการวิจัย KUREC-HS

              ที่เป็นวิธีการมาตรฐาน และนำามาใช้อย่างแพร่หลายใน  61/017 กลุ่มตัวอย่างเข้าร่วมวิจัยด้วยความสมัครใจ
              ทางการแพทย์ โดยนำาแบบประเมินพฤติกรรม SNAP-  ของตนเองและได้รับความยินยอมจากผู้ปกครองแล้ว

              IV (Short Form) มาดัดแปลง ซึ่งเป็นแบบสอบถาม
              ที่พัฒนาขึ้นในปี 1992 โดย Swanson, Nolan และ   วิธีก�รศึกษ�
                                              [11]
              Pelham แปลโดย ณัทธร ทิพยรัตนเสถียร มี 2 ชุด      การศึกษาวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิจัยแบบกึ่ง
              ได้แก่                                      ทดลอง (quasi-experimental research design)
                   ชุดที่ 1 แบบรวบรวมข้อมูลภาวะสมาธิสั้น   ดำาเนินการทดลองตามแบบแผนการวิจัยชนิดวัดผล

              (สำาหรับครู) เป็นเครื่องมือสำาหรับเก็บรวบรวมข้อมูล  ก่อน หลัง หนึ่งกลุ่มทดลอง (one group pretest-
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84