Page 78 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 78
216 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2562
เกม ติดอินเตอร์เน็ต การติดสารเสพติด การกระทำา โอกาสทางสังคมให้เด็กสมาธิสั้นเรียนรู้การเข้าสังคม
ผิดกฎหมาย การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ความเครียดและ การควบคุมพฤติกรรมของตนเองเมื่อต้องอยู่ร่วมกับ
ความวิตกกังวล รวมถึงภาวะซึมเศร้า และการฆ่าตัว ผู้อื่น เพิ่มความภาคภูมิใจในตัวเอง ซึ่งเป็นแนวทาง
ตาย หากมีอาการต่อเนื่องไปจนถึงวัยผู้ใหญ่ จะส่งผล ป้องกันพฤติกรรมก้าวร้าว เกเร เป็นต้น แต่ยังไม่มี
กับการทำางาน ความสัมพันธ์ในครอบครัว การดูแลลูก การวิจัยยืนยันว่าช่วยให้เด็กหายจากโรคสมาธิสั้นได้
การเกิดอุบัติเหตุบ่อย ๆ ซึ่งอาจนำามาสู่การให้ออกจาก ส่วนการฝึกสมาธิแบบนั่งนิ่ง ๆ ก็ยังไม่มีผลการวิจัย
งาน การหย่าร้าง หรือการเสียชีวิต เป็นต้น จากการ ว่ามีประสิทธิผลในการรักษาโรคสมาธิสั้นในเด็กอย่าง
[2–3]
ประเมินความชุกโรคสมาธิสั้นทั่วโลก พบว่าวัยรุ่นเป็น ชัดเจน เพราะทำาให้เด็กเบื่อเนื่องจากเด็กสมาธิสั้นไม่
วัยที่เป็นโรคสมาธิสั้นมากที่สุด โดยพบร้อยละ 7.1 รอง ชอบอยู่นิ่ง ๆ แต่การฝึกสมาธิแบบ Transcendental
ลงมาคือวัยเด็ก ร้อยละ 5.29 และวัยผู้ใหญ่ ร้อยละ Meditation (TM) เป็นการทำาสมาธิวิธีหนึ่ง มีพื้นฐาน
3.4 ตามลำาดับ โดยส่วนใหญ่พบในเพศชายมากกว่า มาจากศาสนาฮินดู ผสมผสานกับมนตราของผู้สอน
เพศหญิง ขณะที่ประเทศไทย จากการศึกษาเด็กอายุ คือการกล่าวคำาใดคำาหนึ่งขณะที่มีการทำาสมาธิ เช่น
[4]
ระหว่าง 7–12 ปี พบว่ามีความชุกโรคสมาธิสั้นร้อยละ โอม, พุทโธ เป็นต้น คิดโดยมหาฤๅษี Maharishi
8.1 แยกเป็นเพศชายร้อยละ 12 และเพศหญิงร้อยละ Mahesh Yogi ครูสอนศาสนาชาวอินเดีย ซึ่งการทำา
4.2 ซึ่งสูงกว่าทั่วโลกเป็น 1.5 เท่า ดังนั้นโรคสมาธิสั้น สมาธิแบบ TM จะเน้นการฝึกหายใจเข้าออกลึก ๆ
จึงเป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขและสังคมอย่างหนึ่ง และเพ่งไปที่ลมหายใจ เพื่อให้เกิดการผ่อนคลาย อัน
ของประเทศไทย เป็นการปฏิบัติเพื่อให้เกิดความสงบ สุขภาพดี และ
[2]
การรักษาโรคสมาธิสั้นสามารถทำาได้โดยการ สามารถต่อสู้กับเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เข้ามากระทบใน
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการรักษาด้วยยา แต่ยัง ชีวิตได้ ซึ่งสามารถช่วยให้เด็กนั่งนิ่งขึ้น มีสมาธิใน
[6]
ไม่มีวิธีใดที่มีประสิทธิผลในการรักษาดีที่สุด โดย การเรียน การทำางานยาวนานขึ้น การฝึกสติให้เด็ก
ทั่วไปแพทย์จะให้คำาปรึกษากับผู้ปกครองในการปรับ รู้จักคิดก่อนทำา หรือให้รู้ตัวว่ากำาลังทำาอะไรอยู่โดย
พฤติกรรมเป็นเบื้องต้นก่อน หลังจากนั้นจึงจะใช้ยา วิธีกำาหนดอิริยาบถ อาจจะมีประโยชน์ในการฝึกให้
รักษา ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนั้น ผู้ปกครอง เด็กรู้จักควบคุมพฤติกรรมของตนเอง เด็กสมาธิสั้น
สามารถเริ่มปรับพฤติกรรมโดยให้คำาชมเวลาที่เด็กมี มักจะชอบและร่วมมือดีต่อกิจกรรมการฝึกที่มีการ
พฤติกรรมดี เช่น การนั่งนิ่ง การทำางานที่มอบหมาย เคลื่อนไหวร่างกาย แต่การฝึกนี้ต้องกระทำาอย่างต่อ
ได้สำาเร็จ เป็นต้น หรือการทำาข้อตกลงกับเด็ก เช่น การ เนื่องจึงจะเกิดประโยชน์ ในกรณีเด็กไม่ร่วมมือใน
[7]
จัดที่นั่งให้เหมาะสม เพื่อลดโอกาสการวอกแวกจาก การปรับพฤติกรรม แพทย์จะดำาเนินการรักษาด้วย
สิ่งเร้าภายนอก หากพบว่าเด็กอยู่ไม่นิ่ง คุณครูควร ยา เช่น ยาเม็ททิลเฟนนิเดท และยาอะโทม็อกซีทีน แต่
ให้เด็กลุกออกมาทำาประโยชน์ เช่น ลบกระดาน แจก การรักษาด้วยยานั้นจะมีผลข้างเคียง เช่น เบื่ออาหาร
สมุด เตรียมอุปกรณ์ เป็นต้น จะทำาให้เด็กสามารถ ปวดศีรษะ ปวดท้อง เป็นต้น ดังนั้นผู้ปกครองจึงควร
[8]
[5]
ควบคุมพฤติกรรมได้ดีขึ้น นอกจากนี้การให้เด็กเล่น พิจารณาถึงผลดีและผลเสียที่จะเกิดขึ้นกับเด็ก
กีฬาหรือการออกกำาลังกายนั้นถึงแม้ จะเป็นการเปิด จากการทบทวนวรรณกรรมจะเห็นว่าการรักษา