Page 88 - journal-14-proceeding
P. 88

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14

                                      PPem16R การศึกษาผลของการใชยาสมุนไพรพอกเขาทดแทนการใชยากลุม
                                      NSAIDs  ในผูปวยโรคเขาเสื่อม ที่มารับบริการในโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ

                                      ตําบลเมืองยาง อําเภอชํานิ จังหวัดบุรีรัมย


               ปรางทอง  ชํานิพันธ
               งานแพทยแผนไทย โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลเมืองยาง อําเภอชํานิ จังหวัดบุรีรัมย

               หลักการและเหตุผล สถานการณผูปวยขอเขาเสื่อมในพื้นที่ตําบลเมืองยาง อ.ชํานิ จ.บุรีรัมย พบผูปวยที่เขารับ
               การรักษาโรคขอเขาเสื่อม²มากถึง รอยละ 48 ของจํานวนผูปวยที่มารับการรักษา ประชากรที่ศึกษาเปนผูปวยที่

               มีอาการปวดเขาหรือโรคเขาเสื่อม²ที่มีอายุตั้งแต 50  ปขึ้นไป พบในเพศหญิงมากกวาเพศชาย²  เพื่อใหไดรับ
               การฟนฟูสภาพขอเขา²เกิดความตอเนื่องในการดูแลประชาชนที่สามารถเชื่อมโยงกันไดทั้งการแพทยแผนไทย
               และการแพทยแผนปจจุบันมีประสิทธิภาพ  ผูวิจัยจึงไดศึกษาผลของการใชยาสมุนไพร¹พอกเขาเพื่อทดแทน

               การใชยากลุม NSAIDs ในผูปวยโรคเขาเสื่อม

               วัตถุประสงค  เพื่อศึกษาผลของการใชยาสมุนไพร¹พอกเขาและศึกษาผลของการใชยากลุม NSAIDs ในผูปวย
               โรคเขาเสื่อม² เพื่อเปนอีกทางเลือกหนึ่งในการฟนฟูสภาพใหกับผูปวยในพื้นที่และสอดคลองกับแนวทางพัฒนา

               การแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือกแบบครบวงจร¹

               วิธีดําเนินการ งานวิจัยนี้เปนการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-experimental research) ประชากรที่ศึกษาเปน

               ผูปวยที่มีอาการปวดเขาหรือโรคเขาเสื่อมที่มีอายุตั้งแต 50 ปขึ้นไป แบบ 2 กลุม วัดผลกอน-หลัง โดยใชแบบ
               วัดระดับความเจ็บปวด Visual Analog Scale  (VAS) ของอาสาสมัครที่เปนโรคขอเขาเสื่อม²จํานวน 20 คน
               โดยสุมเปนกลุมผูปวยที่ไดรับการใชยาพอกสมุนไพร จํานวน 10 คน และกลุมผูปวยที่ใชยากลุม NSAIDs
               จํานวน 10 คน จากนั้นนําคาระดับความเจ็บปวดที่ลดลงกอนและหลังการทดลองมาเปรียบเทียบกัน เก็บขอมูล

               ระหวางวันที่ 1กรกฎาคม 2559 – 31 ธันวาคม 2559 วิเคราะหขอมูลใช Independent t-test และสถิติรอย
               ละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

               ผลการศึกษา พบวาผูปวยที่มีอาการปวดเขาหรือโรคเขาเสื่อม²ที่ใชยาสมุนไพร¹พอกเขามีคา Visual Analog

               Scale (VAS) ลดลง ใกลเคียงกับผูปวยที่ใชยากลุม NSAIDs อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 กลุมที่ใชยา
               สมุนไพร¹พอกเขาเริ่มเห็นความลดลงของระดับความเจ็บปวดตั้งแตวันที่ 2 และลดลงมากที่สุดในวันที่ 5 ของ
               การพอกยา¹ ซึ่งมีคา(VAS)ลดลงเฉลี่ยวันที่ 1,  2,  3,  4  และ 5  คิดเปนรอยละ 100,  86  ,71  ,53  และ 33
               ตามลําดับ มีคาเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ลดลงเทากับ  26.48 ในขณะที่ผูปวยที่ใชยากลุม NSAIDs  เริ่มเห็นความ

               ลดลงของระดับความเจ็บปวดตั้งแตวันที่ 1  และลดลงมากที่สุดในวันที่ 3  ของการใชยา ซึ่งมีคา(VAS) ลดลง
               เฉลี่ย วันที่ 1, 2, 3, 4 และ 5 คิดเปนรอยละ 89, 77, 56, 38 และ 21  ตามลําดับ มีคาเบี่ยงเบนมาตรฐานที่
               ลดลงเทากับ 27.74


               ขอสรุป จากผลการศึกษานี้ยืนยันไดวาการใชยาสมุนไพร¹พอกเขาสามารถทดแทนการใชยากลุม NSAIDs ใน
               ผูปวยโรคเขาเสื่อม ที่มารับบริการใน รพ.สต.เมืองยาง อ.ชํานิ จ.บุรีรัมย ไดอยางมีนัยสําคัญ ซึ่งนาจะเปนอีก
               ทางเลือกหนึ่งในการรักษาผูปวยที่มีอาการปวดเขาหรือโรคเขาเสื่อมตอไป





                                                         86
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93