Page 89 - journal-14-proceeding
P. 89
บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14
PPem21R ผลการพัฒนาพฤติกรรมการปองกันสารเคมีตกคางในเลือดเกษตรกร
กลุมเสี่ยงตําบลบานแพงอําเภอบานแพง จังหวัดนครพนม
อรทัย พันแดง, ศิตา พลีจันทร, กวินารัตน คําศรี
กลุมงานแพทยแผนไทย โรงพยาบาลบานแพง อําเภอบานแพง จังหวัดนครพนม
หลักการและเหตุผล ปจจุบันประชากรสวนใหญในเขต อําเภอบานแพง จังหวัดนครพนม ประกอบอาชีพ
เกษตรกรรม เชน ปลูกยาสูบ ขาวโพด มะเขือเทศ ซึ่งมีการใชสารเคมีในการกําจัดศัตรูพืช เพี่อเพิ่มผลผลิตทําให
เกษตรกรสัมผัสกับสารเคมีโดยตรง ซึ่งเกษตรกรบางคนไมตระหนักถึงวิธีการปองกันตนเอง เชน การใสหนากากปด
ปาก ปดจมูกขณะใช หรือการพนสารเคมีเหนือลม ในป 2559 โรงพยาบาลบานแพงไดรวมกับกองทุนหลักประกัน
สุขภาพเทศบาลตําบลบานแพง ไดจัดทําโครงการตรวจเลือดเกษตรกรกลุมเสี่ยง จํานวน 194 คน
พบวา ผูสัมผัสกับสารเคมีโดยตรงมีสารเคมีตกคางในเลือดระดับเสี่ยง จํานวน 62 คน คิดเปนรอยละ 31.96 ระดับ
ไมปลอดภัย จํานวน 66 คน คิดเปนรอยละ 34.02 จะเห็นไดวาเกษตรกรกลุมเสี่ยงที่ไดรับการเจาะเลือดมีระดับ
สารเคมีที่มีผลเลือดอันตราย (เสี่ยงและไมปลอดภัย) มีจํานวน 128 คน คิดเปนรอยละ 65.98 ซึ่งเปนจํานวนที่สูง
เปนเหตุผลทําใหงานแพทยแผนไทย โรงพยาบาลบานแพงไดทําการศึกษาเพื่อพัฒนาการพฤติกรรมปองกันสารเคมี
ตกคางในเลือดเกษตรกรกลุมเสี่ยงตําบลบานแพง อําเภอบานแพง จังหวัดนครพนม ป 2560
วัตถุประสงค 1.เพื่อศึกษาประสิทธิผลการปองกันสารเคมีตกคางในเลือดเกษตรกรกลุมเสี่ยง ตําบลบานแพง
อําเภอบานแพง จังหวัดนครพนม ป2560
2.เพื่อเปรียบเทียบผลสารเคมีตกคางในเลือด ของเกษตรกรกลุมเสี่ยงในป 2559 และ ป 2560
วิธีการดําเนินการ รูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการ(Action Research) เลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจงที่มีผล
เลือดระดับเสี่ยงและระดับไมปลอดภัย จํานวน 128 คน ระยะเวลาดําเนินการ 7 เดือน ตั้งแตตุลาคม 2559 ถึง
เมษายน 2560 กระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการปองกันสารเคมีตกคางในเลือดเกษตรกรกลุมเสี่ยงตําบลบาน
แพง ประกอบดวย การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใชสารเคมี โดยการคียขอมูล การใหความรูในการปองกันเปน
รายกลุม รายบุคคล การฝกทักษะการใชอุปกรณปองกัน การเจาะเลือดตรวจระดับเอนไซม cholinesterase
ในเกษตรกรกลุมเสี่ยง พรอมใหการรักษาดวยยาเม็ดรางจืด เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล
แบบสอบถามพฤติกรรมการปองกัน (อางอิงจาก สคร.7) และชุดทดสอบการตรวจหาเอนไซม cholinesterase
(ที่ผลิตโดยกองอาหารกรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข) วิเคราะหขอมูลโดยใช ความถี่
คาเฉลี่ยรอยละ และ T-test
ผลการศึกษา กลุมตัวอยางสามารถพัฒนาพฤติกรรมการปองกันสารเคมีตกคางในเลือดโดยมีคะแนนความรู
การปองกันอันตรายจากสารเคมีกําจัดศัตรูพืชและคะแนนพฤติกรรมการปองกันอันตรายจากสารเคมีกําจัด
ศัตรูพืชเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) และผลการตรวจสารเคมีตกคางในเลือด ของเกษตรกรกลุม
เสี่ยงในป2559 และ ป2560 ลดลงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)
ขอสรุป การพัฒนาพฤติกรรมสามารถปองกันสารเคมีตกคางในเลือดเกษตรกรได
87