Page 152 - journal-14-proceeding
P. 152

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                   PPem65G  การทดสอบคุณภาพวัตถุดิบและฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระของสารสกัดผล

                                   กระวานในหลอดทดลอง



                                                 1
                                                            1,2
                                1,2
               ฐาปกรณ ไตรยะวิภาค , อภิญญา สายอินตะ , ไพรชา สุทนต
                                                         2
               1 คณะสาธารณสุขศาสตรและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยปทุมธานี  หมอไทคลินิกการแพทยแผนไทย อ.เมือง จ.มหาสารคาม

               หลักการและเหตุผล  กระวาน (Amomum krervanh Pierre ex Gagnep พืชในวงศ Zingiberaceae) เปน
               สมุนไพรพื้นเมืองของจังหวัดจันทบุรี ประเทศไทย โดยผลกระวานจะถูกใชเปนเครื่องเทศรับประทานรวมกับ

               อาหารพื้นเมือง เชน หมูเรียง ไกกระวาน เปนตน กระวานมีสรรพคุณแกทองอืดเฟอ ชวยขับลม ใชบรรเทา
               อาการขางเคียงที่เกิดจากการใชยาระบายเชน มะขามแขก โดยผสมในตํารับเพื่อบรรเทาอาการคลื่นไส
               อาเจียน ผลกระวานยังเปนสวนประกอบในตํารับยาสมุนไพรไทยตามคัมภีรแพทยแผนไทยหลายตํารับ ที่ถูก
               นํามาใชบรรเทาอาการเจ็บปวยในปจจุบัน เชน พิกัดตรีธาตุ พิกัดตรีทุราวสา นอกจากนั้นยังเปนตัวยาชวยใน

               ตํารับยาธาตุบรรจบ ใชบรรเทาอาการทองอืดเฟอและอาการอุจจาระธาตุพิการ ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมุงเนน
               การศึกษาเพื่อทดสอบคุณภาพวัตถุดิบ และทดสอบฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระของสกัดผลกระวานในหลอดทดลอง
               เพื่อเปนการสนับสนุนการใชผลกระวานเปนยาสมุนไพรตามองคความรูแบบดั้งเดิม


               วัตถุประสงค เพื่อทดสอบคุณภาพวัตถุดิบผลกระวานและทดสอบฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระของสกัดผลกระวานใน
               หลอดทดลอง

                                                                       °
               วิธีดําเนินการ นําวัตถุดิบผลกระวานที่ผานการอบที่อุณหภูมิ 50 C องศาเซลเซียส เปนเวลา 4 ชั่วโมงมา
               ทดสอบคุณภาพดวยวิธี loss on drying, total ash, acid insoluble ash และ extractive values สวนใน
               ขั้นของการทดสอบฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระ นําวัตถุดิบที่อบจนแหงไปสกัดดวยตัวทําละลายโดยอางอิงวิธีเดียวกับ
               การใชของการแพทยแผนไทย คือการหมักดวย 95% เอทานอลและการตมน้ํา หลังจากนั้นจะนําสารสกัดมา

               ทดสอบหาปริมาณสารประกอบฟนอลิก (total phenolic) และทดสอบฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระโดยวิธี  DPPH
               radical scavenging

               ผลการศึกษา ผลการทดสอบคุณภาพวัตถุดิบของผลกระวาน พบวาผานเกณฑมาตรฐาน (monograph) ตาม
               Thai Herbal Pharmacopoeia (THP) สวนผลการทดสอบสารประกอบฟนอลิกพบวา สารสกัดชั้นเอทานอล

               และสารสกัดชั้นน้ํามีคาเทากับ 24.64 ± 2.22, 28.34 ± 1.63  mg GAE/g dry material ตามลําดับ การ
               ทดสอบฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระพบวา สารสกัดชั้นเอทานอลมีคา EC  เทากับ 92.82 ± 1.74 mg/ml
                                                                     50


               ขอสรุป จากการทดสอบหาปริมาณสารประกอบฟนอลิก สารสกัดชั้นเอทานอลและน้ําของผลกระวาน มี
               ปริมาณสารกลุมฟนอลิกที่ต่ํา ซึ่งมีความสัมพันธกับฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระที่ทดสอบดวยวิธี DPPH  radical
               scavenging








                                                         150
   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156