Page 121 - journal-14-proceeding
P. 121

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14



                                      PP60C0027 คืนชีวิต ศสมช. ดวยการแพทยแผนไทย


               อานนท  ไหมจุย
               โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบานสี่แยกสวนปา อําเภอบางขัน  จังหวัดนครศรีธรรมราช

               หลักการและเหตุผล  เมื่อเอยถึงแพทยแผนไทย คนสวนใหญจะนึกถึงนวดอบประคบ ดวยบรรยากาศผอน
               คลายสบายๆ  เคลิ้มไปกับการคลายปวดคลายเมื่อย ทําอยางไร ใหแผนไทยกาวไกลกวาการรับรูดังกลาว  นี่คือ
               ความทาทายที่ทีมแพทยแผนไทย รพ.สต.บานสี่แยกสวนปา คนหาคําตอบ  การสงเสริมสุขภาพดวยการแพทย
               แผนไทย ภูมิปญญาพื้นบาน อาหารสมุนไพร การออกกําลังกายวิถีไทย สมุนไพรบําบัดรักษาโรค และอีก

               มากมายที่ลวนมีคุณคาคูควรแกการนํามาใชใหแพรหลาย  ที่ผานมาการตั้งรับที่หนวยบริการเปนเหตุผลสําคัญ
               ที่ใหแพทยแผนไทยอยูในกรอบที่จํากัด ทางเลือกที่ทีมแพทยแผนไทย รพ.สต.บานสี่แยกสวนปา กาวขาม
               วงจํากัดดังกลาว  ดวยการเปดพื้นที่บริการในศูนยสาธารณสุขมูลฐานชุมชน หรือ ที่เราเรียกกันสั้นๆ วา ศสมช.
               ที่เคยมีบทบาทสําคัญในการแกปญหาการเขาถึงบริการสุขภาพของประชาชนในพื้นที่หางไกล  ซึ่งตอมาศูนยนี้ก็

               ถูกลบเลือนลงจากการสัญจรที่สะดวกมากขึ้น  ทิ้งไวเพียงอาคารสถานที่ที่ไมไดรับการใชงาน  เมื่อนําการแพทย
               แผนไทยสูการใหบริการที่ ศสมช. อยางครบวงจร  ควบคูกับกิจกรรมบริการสุขภาพของชุมชนที่มีอยูเดิม  จึง
               พลิกฟนคืนชีวิต ทั้งแพทยแผนไทยและ  ศสมช. ไปพรอมๆกัน


               วัตถุประสงค  เพื่อใหประชาชนเขาถึงการแพทยแผนไทย โดยเนนการสงเสริมสุขภาพและการปองกันโรคดวย
               การใชสมุนไพรในทองถิ่นและการบําบัดรักษาโรคดวยการแพทยแผนไทยอยางครบวงจรที่ศูนยสาธารณสุขมูล
               ฐานชุมชน

               วิธีการดําเนินการ  แพทยแผนไทยในศูนยสาธารณสุขมูลฐานชุมชน (ศสมช.) บานดานปริง ประกอบดวย 1)

               พัฒนาศักยภาพทีมแพทยแผนไทยกับงานเชิงรุกในชุมชน  2) จัดระบบขอมูลขาวสารดานสุขภาพในชุมชน  3)
               สรางการรับรูผานเวทีสาธารณะในชุมชนอยางตอเนื่อง  4) รวมกันสรางรูปธรรมการเรียนรูดวยสวนสมุนไพรที่
               ศสมช. มีและใชจริง 5)  ปลูกและแปรรูปสมุนไพรในชุมชนเปนยาสามัญประจําบาน  6) บริการแพทยคูขนานที่

               ศสมช. อยางไรรอยตอ 7) แพทยแผนไทยกับผูปวยติดบานติดเตียงในชุมชน

               ผลการศึกษา  แพทยแผนไทยที่ศูนยสาธารณสุขมูลฐานชุมชนบานดานปริง  สงผลใหชาวบานหลายรอยคนที่
               หมุนเวียนมาใชบริการ พึงพอใจที่มีสวนสมุนไพรที่ ศสมช. ไวใชประโยชนในการดูแลสุขภาพไดจริง  รวมทั้ง

               เปนแหลงเรียนรูรวมกันของคนทั้งในและนอกพื้นที่  การนําสมุนไพรในทองถิ่นมาแปรรูปเปนยาสมุนไพรไวใช
               กันเอง จนมียาสมุนไพรสามัญประจําบาน  รวมทั้งการใหบริการอยางอื่นอีกหลากหลาย  จนแพทยแผนไทย
               เปนเรื่องที่เขาถึงไดงายคุนชินกันของคนในชุมชน ที่พูดกันติดปากวา “เดินไมกี่กาว  ก็เขาถึงแผนไทยแลว”

               ขอสรุป  แพทยแผนไทยที่ศูนยสาธารณสุขมูลฐานชุมชนบานดานปริง  เปนการปรับเปลี่ยนระบบบริการดาน

               การแพทยแผนไทยที่เนนงานเชิงรุกในชุมชนมากกวาตั้งรับที่ รพ.สต. ความคิดที่วาแพทยแผนไทยคือการ
               “นวด อบ ประคบ”ก็เปลี่ยนแปลงไปวาแพทยแผนไทยทําอะไรไดมากกวานั้น และเปนสรางการมีสวนรวมของ
               ประชาชนกับบริการแพทยแผนไทยสูการพึ่งตนเองดานสุขภาพ  ใหประชาชนผูรับบริการเปลี่ยนเปนผูรวม
               จัดบริการเพื่อตนเอง และเมื่อการแพทยแผนไทยหยั่งรากลึกสูการสรางสุขภาพดวยกันของคนในพื้นที่แลว  ก็

               จะแกวิกฤตปญหาสุขภาพที่เปนอยูได  ในที่สุดระบบสุขภาพตนทุนต่ําก็เกิดขึ้น


                                                         119
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126