Page 124 - journal-14-proceeding
P. 124
บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14
PP60CI0007 ประสิทธิผลการพอกเขาดวยสมุนไพรที่มีฤทธิ์เย็นตอการลด
อาการปวดของผูปวยเบาหวานที่มีภาวะขอเขาเสื่อมตําบลดาน อําเภอราษีไศล
จังหวัดศรีสะเกษ
โสรยา สานิสี และคณะ
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลดาน จังหวัดศรีสะเกษ
หลักการและเหตุผล ผูปวยเบาหวานที่มารับบริการใน รพ.สต.ดาน จํานวน 63 ราย สวนใหญรอยละ 50 มี
ปญหาสุขภาพคือ ขอเขาเสื่อม และมักขอยาแกปวดเพิ่มภายหลังมารับบริการ สงผลทําใหหนวยงานมีปริมาณ
การใชยากลุมแกปวดเพิ่มขึ้น เพื่อลดปญหาการปวดขอเขาของผูปวย และสงเสริมภูมิปญญาดานการแพทย
แผนไทย จึงไดนําการพอกเขาสมุนไพรที่มีฤทธิ์เย็นมาใชกับผูปวยเบาหวาน
วัตถุประสงค เพื่อศึกษาประสิทธิผลการพอกเขาดวยสมุนไพรที่มีฤทธิ์เย็นตอการลดอาการปวดของผูปวย
เบาหวานที่มีภาวะขอเขาเสื่อมและเพื่อลดการใชยาแกปวดในผูปวยเบาหวานที่มีภาวะขอเขาเสื่อม
วิธีการศึกษา เปนการศึกษาแบบกึ่งทดลองโดยคัดเลือกผูปวยเบาหวานที่ไดรับการคัดกรองตามแบบประเมิน
ระดับความรุนแรงของขอเขาเสื่อม (Oxford knee scale) ที่มีขอบงชี้และเริ่มมีอาการขอเขาเสื่อม (คะแนน 30-39
คะแนน) และมีการใชยาแกปวดที่ไดจาก รพ.สต. ไดแก พาราเซตามอล ไอบูโพรเฟน ไดโคลฟแนค จํานวน 20 คน
วิธีดําเนินการ พอกเขาดวยสมุนไพร ไดแก พญายอ เบญจรงค ผักบุง ตําลึง ยานาง รางจืด อยางละกํามือ โดย
นําสมุนไพรที่ไดมาตําใหละเอียด หอดัวยผากอซ นําไปแชตูเย็น 5-10 นาที นํามาพอกบริเวณที่ปวดเขาพรอม
นัดใหมาพอกซ้ําสัปดาหละ 1 ครั้ง 20 นาที จํานวน 1 ครั้ง/วัน ใหสมุนไพร เพื่อนําไปพอกเองที่บาน เชา-เย็น
เปนเวลา 10 นาที/ครั้ง และคอยๆ ลดขนาดการใชยาแกปวดในชวงที่ศึกษา ทําการเก็บขอมูลตั้งแตเดือน
กุมภาพันธ 25600 – พฤษภาคม 2560 ประเมินผลอาการปวดโดยใช Pain Visual Analog Scale และ
เปรียบเทียบอัตราการใชยาแกปวด ของผูปวยภายในกลุมหลังการพอกสมุนไพรในเดือนที่ 1, 2, 3 และเดือนที่
4 วิเคราะหผลของการพอกเขากอนและหลัง โดยใชสถิติ Pair sample t-test
ผลการดําเนินการ กลุมเปาหมายสวนใหญเปนเพศหญิงรอยละ 70 อายุระหวาง 51-60 ป รอยละ 75 อาชีพ
เกษตรกรรมมากถึง รอยละ 90 การศึกษาอยูที่ระดับประถมศึกษารอยละ 85 เมื่อเกิดอาการปวดขอเขาใชวิธีการ
รับประทานยา รอยละ 100 มีระดับคะแนนเฉลี่ยอาการปวดขอเขากอนรับการพอกสมุนไพร ในเดือนที่ 1 มี
ระดับคะแนนอาการปวดเฉลี่ยเทากับ 7.80 (SD.=0.76) และพบวาระดับคะแนนเฉลี่ยอาการปวดหลังรับการ
พอกสมุนไพรในเดือนที่ 4 มีระดับคะแนนอาการปวดเฉลี่ยเทากับ 3.90 (SD.=0.71) โดยคะแนนความเจ็บปวด
ลดลงเฉลี่ย 3.90 คะแนน (95%CI: 3.64 – 4.15; P-value<0.000) และพบวาอัตราการใชยาแกปวดของผูปวย
หลังการประคบสมุนไพรในเดือนที่ 1 จํานวน 20 ราย คิดเปนรอยละ 100 และเดือนที่ 4 อัตราการใชยาแกปวด
ของผูปวยลดลงเหลือเพียง 7 ราย คิดเปนรอยละ 35 จากผูปวยทั้งหมด 20 ราย
ขอสรุป การพอกสมุนไพร เปนอีกทางเลือกหนึ่งในการชวยลดอาการปวดขอเขาของผูปวยโรคเบาหวาน
สามารถลดอัตราการใชยาเพื่อบรรเทาอาการปวดเขาของผูปวยเบาหวานได
122