Page 120 - journal-14-proceeding
P. 120

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                      PP60C0026  หนังสือสงเสริมสุขภาพ เรื่องการดูแลมารดาหลังคลอดดวย
                                      การแพทยแผนไทย


               ศิราพร สันตะวงค, นิยม สาระไทย, อาวรณ ศิลาคุปต, ขนิษฐา แสงสุริยา, พรนัชชา แสนมี
               กลุมงานการแพทยแผนไทย และการแพทยทางเลือก โรงพยาบาลอํานาจเจริญ


               หลักการและเหตุผล ระยะเวลาตั้งแตเด็กคลอดจนถึง 6 สัปดาหหลังคลอดเปนชวงเวลาที่มารดามีการปรับตัว
               ทั้งดานกายวิภาคและสรีระวิทยาของอวัยวะตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการคลอดและภาวะจิตใจใหกลับคืนสูสภาพ
               เหมือนขณะไมตั้งครรภ จากสถิติมารดาหลังคลอดที่มารับบริการที่โรงพยาบาลอํานาจเจริญปงบประมาณ
               พ.ศ.  2559 มีผูมารับบริการคลอดทั้งหมด 2,503  ราย มารับบริการฟนฟูหลังคลอดในกลุมงานการแพทย
               แผนไทย จํานวน 22 ราย จากการสัมภาษณมารดาหลังคลอดพบวา ความรูที่ผูปวยไดรับเกี่ยวกับการปฏิบัติตน

               ในการฟนฟูรางกายดวยแผนไทยยังไมเพียงพอ นอกจากนี้ยังไมเปนมาตรฐานเดียวกัน ทําใหมารดาหลังคลอด
               เกิดความกังวล สับสน ดังนั้นเพื่อชวยลดความวิตกกังวลในมารดาหลังคลอดที่ไดรับการดูแลดวยแพทยแผน
               ไทย ผูวิจัยจึงสนใจศึกษาผลของการใหความรูโดยใชสื่อหนังสือสงเสริมสุขภาพดวยแพทยแผนไทยตอความรู

               และการปฏิบัติตนในมารดาหลังคลอด


               วัตถุประสงค เพื่อศึกษาผลของการใหความรูโดยใชสื่อหนังสือสงเสริมสุขภาพดวยแพทยแผนไทยตอความรู

               และการปฏิบัติตนในมารดาหลังคลอด


               วิธีดําเนินการ การศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาแบบกึ่งทดลอง (Quasi-experimental research)  กลุมตัวอยาง
               เปนมารดาหลังคลอดในโรงพยาบาลอํานาจเจริญ ที่มารับบริการในชวงที่ทําการทดลอง จํานวน 22  คน
               แบงเปน กลุมทดลอง จํานวน 11 คน ไดรับการสอนโดยใชสื่อหนังสือสงเสริมสุขภาพดวยแพทยแผนไทยและ

               กลุมเปรียบเทียบ จํานวน 11  คน ไดรับการสอนโดยการบรรยาย การเลือกกลุมตัวอยางเปนแบบเจาะจง คือ
               มารดาหลังคลอดในโรงพยาบาลอํานาจเจริญ ที่อาศัยอยูในเขตพื้นที่ตําบลบุง อําเภอเมือง จังหวัดอํานาจเจริญ
               และยินยอมในการ เขารวมโครงการในชวงที่ทําการทดลองระหวาง เดือนมีนาคม พ.ศ.2560 ถึงเดือนมิถุนายน

               พ.ศ. 2560  เก็บรวบรวมขอมูลดวยแบบทดสอบความรูในการดูแลตนเองดวยแผนไทยและแบบประเมินการ
               ปฏิบัติตัว สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก สถิติเชิงพรรณนา ทดสอบความแตกตางของกลุมทดลองและ
               กลุมเปรียบเทียบ ดวย chi-square test  ทดสอบคาเฉลี่ยคะแนน ความรูและการปฏิบัติตน ภายในกลุมใช

               Paired sample t-test ระหวางกลุมใช Independent sample t-test

               ผลการศึกษา  การสอนโดยใชสื่อหนังสือสงเสริมสุขภาพดวยแพทยแผนไทยและสอนแบบบรรยายสงผลให
               กลุมทดลองและกลุมเปรียบเทียบมีความรูเพิ่มขึ้น หลังการสอน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p< 0.001) สําหรับ
               ดานการปฏิบัติตน พบวาการสอนโดยใชสื่อหนังสือสงเสริมสุขภาพทําใหผูปวยสามารถปฏิบัติตนไดถูกตอง

               มากกวาการสอนแบบบรรยาย อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p< 0.01)

               ขอสรุป การดูแลมารดาหลังคลอดดวยแพทยแผนไทยเปนประเด็นที่นาสนใจ เพราะเปนการบูรณาการศาสตร
               แพทยแผนไทยกับศาสตรการดูแล (Caring) หนังสือสงเสริมสุขภาพ เรื่องการดูแลฟนฟูมารดาหลังคลอด ดวย

               การแพทยแผนไทย เปนเครื่องมือหนึ่งที่สามารถนําไปใชประโยชนกับผูปวย เพื่อชวยสงเสริม ฟนฟูสุขภาพ ให
               มารดาหลังคลอดมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น


                                                         118
   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125