Page 123 - journal-14-proceeding
P. 123

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                      PP60CI0004 ประสิทธิผลของการใชกะลามะพราวในการรักษาอุณหภูมิของลูก
                                      ประคบสมุนไพร


               สมคิด  กาละนิโย
               คลินิกการแพทยแผนไทยในโรงพยาบาลโกสุมพิสัย ต.หัวขวาง อ.โกสุมพิสัย จ.มหาสารคาม

               หลักการและเหตุผล การประคบนั้นความรอนจากลูกประคบมีความสําคัญและจําเปนอยางมากในการประคบ
               เพราะความรอนจะชวยกระตุนระบบไหลเวียนเลือดแลวยังชวยเปดรูขุมขนทําใหตัวยาจากสมุนไพรแทรกซึม
               ผานเขาสูผิวหนังไดดีขึ้นและความรอนยังชวยใหนําตัวยาออกมากับไอน้ําและความชื้นได แตลูกประคบที่ใชไม

               สามารถเก็บความรอนไดนาน ดังนั้นคลินิกการแพทยแผนไทย จึงหาวิธีที่จะรักษาอุณหภูมิของลูกประคบ
               เพื่อใหลูกประคบใชในการประคบไดนานขึ้น โดยการนํากะลามะพราวมาใชในการรักษาอุณหภูมิใหลูกประคบ
               เพื่อใหลูกประคบสามารถใชประคบไดนานขึ้นและนอกจากนี้ยังชวยลดตนทุนในการนึ่งลูกประคบไดอีกดวย

               วัตถุประสงค เพื่อนํากะลามะพราวมาชวยรักษาอุณหภูมิของลูกประคบสมุนไพร เพื่อใหลูกประคบสมุนไพร
               สามารถประคบไดนานขึ้น

               วิธีดําเนินการ จัดหาอุปกรณที่จําเปนตองใชในการประดิษฐนวัตกรรมไดแก สมุนไพรที่จําเปนในการทําลูก
               ประคบ กะลามะพราว, ผาที่ใชหอ, เชือกที่ใชสําหรับมัดลูกประคบ ขั้นแรกใหนํากะลามะพราวมาตัดใหเปนรูป

               ถวยและขัดผิวใหเรียบ นําสมุนไพรที่เตรียมทําลูกประคบทั้งหมดคลุกใหเขากัน นําสมุนไพรที่ผสมเสร็จแลวหอ
               ดวยผาขาวและรัดดวยเชือกใหแนนและดําเนินการทดลองใชนวัตกรรม โดยนําลูกประคบสมุนไพรมาใชงาน
               และเปรียบเทียบอุณหภูมิกับของลูกประคบสมุนไพรแบบเดิมและสรุปผลการใชนวัตกรรมและสรุปอุณหภูมิ

               ของลูกประคบสมุนไพรขณะใหบริการ

               ผลการศึกษา พบวา การใชกะลามะพราวมาชวยในการรักษาอุณหภูมิของลูกประคบสมุนไพรสามารถใชไดจริง
               ซึ่งในการประคบผูรับบริการแตละรายจะใชเวลาประมาณ 15-20 นาที เดิมตองใชลูกประคบทั้งหมด 3 ลูกตอ
               ผูรับบริการ 1 ราย จากนวัตกรรมดังกลาวจะใชลูกประคบเพียง 1-2 ลูกตอผูรับบริการ 1 ราย และทําการวัด

               อุณหภูมิของลูกประคบสมุนไพรหลังจากทําการประคบ โดยการใชปรอทวัดอุณหภูมิและอุณหภูมิอยูที่ 40-45
               องศาเซลเซียส ซึ่งเปนอุณหภูมิที่อยูในเกณฑการรักษา และยังเปนการนําวัสดุที่หาไดตามทองถิ่นมาประยุกตใช
               ใหเกิดประโยชน

               ขอสรุป การนํากะลามะพราวมาใชในการรักษาอุณหภูมิของลูกประคบสมุนไพรสามารถใชไดจริงแตในการนํา
               กะลามะพราวมาทําลูกประคบจะทําใหลูกประคบมีพื้นที่ผิวสัมผัสกับผิวหนังนอยลงเนื่องจากลูกประคบที่ใช

               กะลามะพราวไมสามารถเปลี่ยนรูปรางได จึงเปนสิ่งที่ทาทายกับผูคิดคนนวัตกรรมวาจะแกปญหายังไงและทาง
               ผูคิดคนไดปรับเปลี่ยนออกแบบลูกประคบหลากหลายรูปแบบจนสุดทายไดรูปแบบของลูกประคบที่เหมาะสม

               ตรงกับวัตถุประสงคของผูคิดคนนวัตกรรม เพื่อที่จะใหลูกประคบไดประโยชนสูงสุดและ ความสามารถในการ

               รักษาอุณหภูมิของลูกประคบและสามารถใชงานไดจริง ราคาผลิตภัณฑประหยัดแตสามารถใหประโยชนสูงสุด
               ตอผูรับบริการ จึงเปนเหตุผลสําคัญในการตัดสินใจที่จะนํานวัตกรรมไปใชตอไป





                                                         121
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128