Page 117 - journal-14-proceeding
P. 117

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                      PP60C0021 ยาพอกสมุนไพร



               ทานตะวัน ทองแกว

               โรงพยาบาลหวยยอด อ.หวยยอด จ. ตรัง

               หลักการและเหตุผล ทางคลินิกแพทยแผนไทยไดมีการใหบริการหัตถการกับผูปวยที่หลากหลาย โดยใชการ
               นวด ประคบสมุนไพร อบสมุนไพร และการยืดกลามเนื้อ เพื่อลดอาการปวดและคลายกลามเนื้อ โรคลําบอง

               ทางดานการแพทยแผนไทย เปนโรคที่มีความรอนบริเวณขอตางๆของรางกาย ปวดตามขอตอกระดูก
               โดยเฉพาะขอนิ้ว ขอมือ ขอเทา และมีลักษณะสําคัญคือ ปวด บวม แดง รอน กํามือแลวเหยียดไมออก กระดก
               ขอมือ ขอเทาลําบาก การแพทยแผนปจจุบัน เทียบเคียงแลวลมลําบองเทียบเคียงกับโรคขออักเสบ ซึ่งอาจเปน
               จากการติดเชื้อ หรือเปนรูมาตอยด เกาต ซึ่งอาจรุนแรงกวาขอเขาเสื่อม  วินิจฉัยตาม ธาตุสมุฏฐาน และ เกิด

               จากเสนประธานสิบ เสนกาลทารี ถาลมลําบอง มีพิษมาก็จะกระทบกับ เสนสุมนา และ สหัสรังสี ซึ่งศาสตร
               การแพทยแผนไทย ยังไมสามารถทําการนวดรักษา หรือประคบได เพราะทําใหอาการอักเสบของกลามเนื้อได
               ผูนําเสนอจึงประยุกตสูตรสมุนไพรที่ใชรักษาและบรรเทาอาการรูสึกรอน และลดอาการปวดโดยใชยาสมุนไพร
               ที่มีคุณสมบัติเปนยาฤทธิ์เย็นเปนสวนประกอบหลักผานกรรมวิธีตางๆใหมีความสะอาดและสะดวกเหมาะกับ

               การใชงานและเก็บรักษา
               วัตถุประสงค เพื่อศึกษาผลการใชยาพอกสมุนไพรตอการรักษากลุมโรคลําบอง

               วิธีการดําเนินการ งานวิจัยนี้ เปนการนํานวัตกรรมมาใชในการลดอาการปวดกลามเนื้อเนื่องจากกลามเนื้อ

               อักเสบ โดยใชวิธีประชุมทีมแพทยแผนไทยและทีมสหวิชาชีพเพื่อทําความเขาใจหลักเกณฑในการคัดเลือกกลุม
               ตัวอยาง จํานวน  40  คน ประกอบดวยผูที่เปนโรคลําบอง โดยไมรับประทานยา    อยูในเขต อําเภอหวยยอด
               จังหวัดตรัง โดยใหกลุมตัวอยางตอบแบบสอบถาม  (แบบสอบถามที่ใชเปนแบบสอบถามความพึงพอใจ และ
               แบบสอบถามความเจ็บปวด Pain score) และทดลองใหนวัตกรรม 1 เดือน โดยการติดตามผล 3 ครั้ง ครั้งที่ 1

               ใชนวัตกรรมระยะเวลา 5 วัน ครั้งที่ 2 ระยะเวลาครบ 10 วัน และครั้งที่ 3 ระยะเวลาครบ 1 เดือน รวบรวม
               ขอมูลและประเมินผล

               ผลการศึกษา ผูมารับบริการคลินิกแพทยแผนไทยที่อาการของโรคลมลําบอง ไมเปนโรคติดตอทางผิวหนัง
               จํานวน 40 ราย โดยประเมินระดับความปวด (Pain score) กอนและหลังพอกยาสมุนไพร และประเมินความ
               พึงพอใจพบวา ระดับความปวดลดลง จํานวน 32  ราย คิดเปนรอยละ 80  ระดับความปวดไมเปลี่ยนแปลง

               จํานวน 8 คน คิดเปนรอยละ 20 และมีระดับความพึงพอใจเฉลี่ยอยูในระดับดีมาก

               ขอสรุป การใชยาพอกสมุนไพรตอการรักษากลุมโรคลําบองระดับความปวดลดลง










                                                         115
   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122