Page 118 - journal-14-proceeding
P. 118

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14



                                      PP60C0023 มหัศจรรยน้ํามันสมุนไพรแกปวด


               บุญเกิด  ระเบียบ
               โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลเก็บงา อําเภอเมืองจันทร จังหวัดศรีสะเกษ

               หลักการและเหตุผล ประชาชนผูรับบริการในเขตบริการของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลเก็บงา อําเภอ
               เมืองจันทร  จังหวัดศรีสะเกษ รอยละ 95 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ซึ่งตองทํางานตรากตรํา ทําใหมีอาการ
               ปวดเมื่อยกลามเนื้อ ตองมาขอยาแกปวดที่โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพอยูบอยครั้ง คณะผูศึกษาจึงคิดคน

               นวัตกรรม  มหัศจรรยน้ํามันหอมแกปวดเมื่อย โดยการใชสมุนไพรที่มีอยูในชุมชนมาใชในการบําบัดอาการปวด
               เมื่อยของผูรับบริการ เพื่อลดการใชยาแผนปจจุบัน

               วัตถุประสงค เพื่อศึกษาประสิทธิผลของน้ํามันหอมในการรักษาผูปวยที่มีอาการปวดเมื่อยกลามเนื้อ เพื่อ
               พัฒนาผลิตภัณฑน้ํามันหอมแกปวดเมื่อยกลามเนื้อจากพืชสมุนไพรในทองถิ่น และ เพื่อศึกษาความพึงพอใจ

               ของผูใชผลิตภัณฑน้ํามันหอมแกปวดเมื่อย

               วิธีดําเนินการ วัตถุดิบและอุปกรณที่ใชในการทําน้ํามันหอม ไดแก มะกรูด ไพล เหลาขาว ขวดโหล ขวดบรรจุ
               ที่สะอาด ตะแกรงกรอง พิมเสนและการบูร  ขั้นตอนในการทําน้ํามันหอมแกปวดเมื่อย นํามะกรูด 10 ลูก ไพล

               3 หัว มาลางใหสะอาด หั่นเปนแวน นํามะกรูดและไพลที่เตรียมไวใสขวดโหล เทเหลาขาวลงไปประมาณ 1/3
               ของขวดโหล และปดฝาใหสนิท หมักทิ้งไว 15 วัน เมื่อหมักครบตามเวลาจะไดน้ํามันหอมของมะกรูดและไพล
               นํามากรองเอาแตน้ํามันหอมใสในภาชนะสะอาดที่เตรียมไว  นําการบูรและพิมเสนเติมลงไปเพื่อเพิ่มความหอม
               และผอนคลายใหแกผูใช นําน้ํามันหอมบรรจุใสภาชนะที่สะอาด สามารถนําไปใชได  สําหรับการทดสอบ

               ประสิทธิภาพ กลุมทดลองที่ใชคือ ผูรับบริการที่มีอาการปวดเมื่อยกลามเนื้อจากการทํางาน จํานวน 27 คน
               (โดยสมัครใจ) ระยะเวลาในการเก็บขอมูล มกราคม – มีนาคม พ.ศ.2560   ในการทดลองใชน้ํามันหอมแกปวด
               เมื่อย 7 วัน โดยการเยี่ยมบานกลุมทดลองทุกวัน  เครื่องมือที่ใชวัดผล ไดแก แบบวัดระดับความปวด (visual
               rating scales) แบบประเมินความพึงพอใจของผูใชบริการ  แบบบันทึกการขอรับยาแกปวด และประวัติการ

               รักษา

               ผลการศึกษา  พบวากลุมทดลอง ดีขึ้น/ทุเลา หลังการใชภายใน 3 วัน รอยละ 62.96 ดีขึ้น/ทุเลา หลังการใช
               มากกวา 3 วัน รอยละ 29.62  ไมดีขึ้น/ไมทุเลา รอยละ 7.40 หลังไดใชนํามันหอมแกปวดเมื่อย ลดการใชยา

               แกปวดไดรอยละ 92.59  และระดับความพึงพอใจของผูใชน้ํามันหอมแกปวดเมื่อย สวนใหญอยูในระดับมาก

               ขอเสนอแนะ  ควรสนับสนุนใหประชาชนสามารถผลิตนํามันหอมแกปวดเมื่อยใชเองในชุมชน และควรศึกษา
               สมุนไพรตัวอื่นๆ ที่มีในชุมชนที่สามารถนํามาประยุกตใชในงานสาธารณสุข  ตามบริบทของพื้นที่










                                                         116
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123