Page 126 - journal-14-proceeding
P. 126

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                      PP60CI00011 การพัฒนาตํารับและการประเมินผลการใชขี้ผึ้งสมุนไพรในการ
                                      รักษาโรคเรื้อนมูลนก (อางอิง:ตามคัมภีรวิถีกุฐโรค)


               จรรยวรรณ รวมอาภา, ประพัสสร วรรณทอง
               ศูนยการแพทยแผนไทย โรงพยาบาลขุนหาญ อ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ

               หลักการและเหตุผล จากการสํารวจผูปวยที่มีอาการทางผิวหนังในพื้นที่ตําบลสิ และผูปวยที่มารับบริการที่ศูนยการแพทยแผนไทย
               โรงพยาบาลขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ ที่แพทยแผนไทยวินิจฉัยวาเปนเรื้อนมูลนก ซึ่งมีอาการระยะเริ่มแรก ดําเนินโรคไมเกิน 3 เดือน
               จํานวน 30 ราย ซึ่งผูปวยแตละรายมีอาการคันตามผิวหนัง ผุดเปนแวน เปนวงสีขาว มีขุย บริเวณที่เกิด แขน ขา ลําตัว หลัง และงาม
               นิ้วเทา ซึ่งมีลักษณะอาการตรงกับโรคเรื้อนมูลนก ในคัมภีรวิถีกุฐโรค เปนโรคผิวหนัง ที่บังเกิดขึ้นเปนอุปปาติกะคืออยูดีๆ ก็เกิดขึ้น
               เองโดยหาสาเหตุมิได คิดเปน 10% ของผูเขารับการรักษาในคลินิกพิเศษทั้งหมด ผูจัดทําจึงเกิดความสนใจที่จะจัดทําเภสัชภัณฑเพื่อ

               แกอาการคัน ลดผื่นแพ ตามคัมภีรวิถีกุฐโรค ซึ่งเปนภูมิปญญาของบรรพบุรุษใหคงอยูสืบไป  โดยพัฒนาเปนยาภายนอกในรูปแบบ
               ขี้ผึ้ง เพื่อรักษาอาการเบื้องตนของผูปวย และ ลดจํานวนผูปวยสะเก็ดเงินในอนาคต มีการประเมินความพึงพอใจโดยใชแบบสอบถาม

               วัตถุประสงค เพื่อพัฒนาตํารับยากอนประเมินผลการใช และเพื่อศึกษาผลของขี้ผึ้งสมุนไพรแกโรคเรื้อนมูลนก

               วิธีดําเนินการ ขอบเขตและวิธีการศึกษา ทําการศึกษา 2 ระยะ โดยระยะแรกพัฒนาตํารับยาขี้ผึ้งสมุนไพรกอนประเมินผลการใช และ
               ระยะที่ 2 เปนการศึกษาเชิงทดลอง (Experimental Study) ในกลุมตัวอยางที่มารับบริการที่ศูนยการแพทยแผนไทย โรงพยาบาลขุน

               หาญ จํานวน 30 ราย ซึ่งมีอาการในระยะเริ่มแรก อาการดําเนินโรคไมเกิน 3 เดือน ระหวางเดือนตุลาคม 2559 – มีนาคม 2560 โดยมี
               ขั้นตอนในการศึกษา ดังนี้ ระยะที่ 1 การพัฒนาตํารับยาขี้ผึ้งสมุนไพรกอนประเมินผลการใช ตัวยาประกอบดวย ใบทองพันชั่ง เหงือก
               ปลาหมอ ใบพลู ใบเสลดพังพอนตัวเมีย อยางละ 30 กรัม กระเทียม ขาแก เปลือกมังคุด ขิงแก ใบชุมเห็ดเทศ เมล็ดลําโพง และใบเตย
               อยางละ 15 กรัม ที่มาของสมุนไพร ตัวยาทั้งหมดเปนสูตรพอหมอเลื่อน ประทุมวงษ  ใบทองพันชั่ง เหงือกปลาหมอ กระเทียม เมล็ด
               ลําโพง มีในตํารับยาแกเม็ดผื่นคันและยาแกพยาธิที่เกิดตามผิวหนัง อางอิงจากคัมภีรวิถีกุฐโรค นําสมุนไพรมาหั่นเปนชิ้นเล็กๆ ผึ่งแดด

               2 ชั่วโมง หมักดวยแอลกอฮอล 95% ใสทวมยาเขยาใหเขากันหมักไว 15 วัน จากนั้นนํามากรองดวยผาขาวบาง ไดประมาณ 3500 ml.
               ไประเหยแหงบน water bath จนเหลือปริมาณ 200 ml นําไปกรองดวยกระดาษกรอง ขั้นตอนของการผลิตขี้ผึ้ง 1.นําสารสกัดสมุนไพร
               ตั้งบน Hot plate ใชความรอนต่ําๆ คนจนสารเริ่มหนืด 2.หลอมขี้ผึ้ง 45 กรัม พาราฟน 25 กรัม วาสลีน 30 กรัม ที่อุณหภูมิ 70 องศา

               เซลเซียส 3. แลวนําสารสกัดในขอ 1 ลงในสารละลาย ขอ 2 คนไปทางเดียวชาๆ 4. เติม น้ํามันไพล น้ํามันขมิ้น น้ํามันมะพราว น้ํามันงา
               อยางละ 10 ซีซี ลงไปผสมใหสารละลายผสมกันจนเปนเนื้อเดียวกัน  จากนั้นยกลงจาก water bath พักไวสักครู เทบรรจุขวดขนาด 10
               กรัม มีการทดสอบความปลอดภัย ทดสอบระคายเคือง การทดสอบทางกายภาพดูการตกตะกอน (Physical test)  และทดสอบวาสารตัว
               ไหนที่ทําใหเกิดการแพ เรียกวา Patch test  ระยะที่ 2 การทดสอบประสิทธิผลของขี้ผึ้งสมุนไพรใหกลุมตัวอยางใชขี้ผึ้งสมุนไพรทา ทุก

               วัน วันละ 2 ครั้ง หลังอาบน้ํา เชา-เย็น เปนเวลา 7 วัน

               ผลการศึกษา ประสิทธิผลของขี้ผึ้งสมุนไพร พบวาในกลุมตัวอยาง 30 ราย มีอาการดีขึ้น 23 ราย คิดเปนรอยละ 76.66  อาการคงเดิม 5
               ราย คิดเปนรอยละ 16.67  และมีอาการระคายเคือง 2 ราย คิดเปนรอยละ 6.67 ดังนั้น ในดานผลการใช ขี้ผึ้งสมุนไพรประสิทธิภาพดอย
               กวาสูตรมาตรฐานในทองตลาด แตในดานความปลอดภัย สมุนไพรมีความปลอดภัยมากกวา เนื่องจากพบการระคายเคือง 2 ราย สาเหตุ
               เกิดจากการคัดเขา ไมตรงกับกลุมอาการของโรค ประเมินความพึงพอใจ โดยใชแบบสอบถามประกอบดวย ขอมูลทั่วไป ขอมูลเกี่ยวความ

               พึงพอใจตอขี้ผึ้งสมุนไพร พบวากลุมตัวอยางมีความพึงพอใจ ตอขี้ผึ้งยาสมุนไพร เฉลี่ยรอยละ 89.64 พึงพอใจในดานราคา (ราคา 25
               บาท/ขวด 10 กรัม) เทียบกับขี้ผึ้งแกโรคผิวหนังในทองตลาด ดังนั้น ในดานราคา ตนทุนจะเทาๆกัน เมื่อเทียบกับ ขี้ผึ้งในทองตลาด

               ขอสรุป จากการทดสอบพบวาขี้ผึ้งสมุนไพรมีประสิทธิผลในการแกโรคผิวหนัง คิดเปนรอยละ 76.66 และผูใชมีความพึงพอใจในขี้ผึ้ง
               สมุนไพรดานความปลอดภัย  ดานราคาแตอยางไรก็ตามควรมีการศึกษาตอเนื่องในกลุมตัวอยางที่มากขึ้นเพื่อยืนยันประสิทธิผลตอไป



                                                         124
   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131