Page 185 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 185
668 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2566
ผลก�รศึกษ� พบว่าสารสกัดต�ารับยาแก้ลมอุทธังคมาวาตามีปริมาณ
ฟลาโวนอยด์รวม เท่ากับ 177.89 ± 3.02 mg QE/g ext
1. ผลก�รวิเคร�ะห์ห�ปริม�ณส�รประกอบ
ฟีนอลิกและฟล�โวนอยด์รวม 2. ผลก�รทดสอบฤทธิ์ก�รต้�นอนุมูลอิสระโดย
ในการทดสอบฤทธิ์ของสารสกัดที่ได้จากพืช วิธี DPPH และ ABTS
จ�าเป็นต้องมีการตรวจสอบหาปริมาณสารประกอบ พบว่าสารสกัดต�ารับยาแก้ลมอุทธังคมาวาตา มีค่า
ฟีนอลิกรวม เพื่อยืนยันว่าสารสกัดที่น�ามาท�าการ IC 50 เท่ากับ 137.72 µg/ml เมื่อเทียบกับสารมาตรฐาน
ทดสอบฤทธิ์นั้น มีปริมาณสารประกอบฟีนอลิกรวมสูง คือ ascorbic acid, BHT และ α-Tocopherol ซึ่งมี
ที่สุด เนื่องจากสารประกอบฟีนอลิกที่พบในธรรมชาติ ค่า IC 50 เท่ากับ 4.01, 12.35 และ 7.75 µg/ml ตาม
นั้นมีหลายชนิด และแต่ละชนิดมีสูตรโครงสร้างทาง ล�าดับ เมื่อทดสอบด้วย DPPH และจากการทดสอบ
เคมีที่แตกต่างกัน ตั้งแต่กลุ่มที่มีโครงสร้างอย่างง่าย ความสามารถในการเป็นสารต้านปฏิกิริยาออกซิเดชัน
เช่น กรดฟีนอลิกรวม ไปจนถึงกลุ่มที่มีโครงสร้าง โดยใช้อนุมูลอิสระ ABTS ผลการทดสอบของสาร
เป็นพอลิเมอร์ เช่น ลิกนิน (lignin) และที่พบกลุ่ม
สกัดต�ารับยาแก้ลมอุทธังคมาวาตา พบว่ามีค่า IC 50
ใหญ่ที่สุดคือ สารประกอบฟลาโวนอยด์ ซึ่งพืชชนิด เท่ากับ 27.28 µg/ml เมื่อเทียบกับสารมาตรฐาน คือ
ใดก็ตามที่มีปริมาณสารประกอบฟีนอลิกรวมสูงก็จะ ascorbic acid, BHT และ α-Tocopherol พบว่ามีค่า
แสดงความสามารถในการเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ IC 50 เท่ากับ 2.41, 1.80 และ 6.26 µg/ml ตามล�าดับ
ได้ดี จากการวิเคราะห์หาปริมาณสารประกอบฟีนอลิก
รวม ในสารสกัดของต�ารับยาอุทธังคมาวาตา โดย 3. ผลก�รทดสอบฤทธิ์ยับยั้งก�รสร้�งไนตริก
วิธี Folin-Ciocalteu Reagent และเปรียบเทียบ ออกไซด์และคว�มเป็นพิษต่อเซลล์ ATDC-5
กับกราฟมาตรฐาน (standard curve) กรดแกลลิก จากการศึกษาความเป็นพิษต่อเซลล์ ATDC-5
(gallic acid, GAE) จากสมการถดถอยเชิงเส้น ของสารสกัดต�ารับยาแก้ลมอุทธังคมาวาตา ด้วย 95%
(linear regression) ของกราฟมาตรฐานกรดแกลลิก เอทานอล ที่ความเข้มข้น 3.125, 6.25, 12.5, 25, 50
สามารถค�านวณหาปริมาณฟีนอลิกรวมสมมูลกับ และ 100 µg/ml จากการทดสอบความเป็นพิษต่อ
กรดแกลลิกได้จากกราฟสมการสมการความชันคือ เซลล์ ซึ่งพิจารณาจากอัตราการรอดชีวิตของเซลล์
2
y = 0.0051x-0.1744 มีค่า R = 0.9992 จากการ ต้องไม่ต�่ากว่า 80% พบว่าที่ความเข้มข้นสูงสุดคือ 100
วิเคราะห์พบว่าสารสกัดต�ารับยาแก้ลมอุทธังคมาวาตา µg/ml ไม่ก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อเซลล์แต่หากปรับ
มีปริมาณฟีนอลิก เท่ากับ 479.33 ± 2.08 mg GEA/g เพิ่มเป็น 200 µg/ml พบว่าสารสกัดต�ารับยาแก้ลม
ext. จากการวิเคราะห์หาปริมาณฟลาโวนอยด์รวม ใน อุทธังคมาวาตาท�าให้อัตราการรอดชีวิตของเซลล์ลด
สารสกัดต�ารับ โดยค�านวณจากสมการถดถอยเชิงเส้น ลง ผู้วิจัยถึงเลือกใช้ความเข้มข้นที่ 100 µg/ml เป็น
ของกราฟมาตรฐาน Quercetin จะได้กราฟที่มีสมการ ความเข้มข้นสูงสุด จากการศึกษาฤทธิ์ยับยั้งการสร้าง
ความชัน y = 0.0114x-0.0652 ที่มีค่า R² = 0.9909 ไนตริกออกไซด์ ที่ถูกสร้างขึ้นโดยกระตุ้นด้วย LPS