Page 183 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 183

666 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2566




           ต้านอนุมูลอิสระที่ท�าให้ความเข้มข้นของ DPPH ลด  ความเข้มข้น 0.7810, 1.5625, 3.125, 6.25, 12.5, 25,
           ลง 50% โดยสร้างกราฟระหว่างความเข้มข้นของสาร  50, 100 µg/ml ซึ่งละลายอยู่ในเอทานอล บ่มในที่มืด

           ทดสอบกับค่าการยับยั้งอนุมูลอิสระแล้วหาค่า IC 50 ใน  ที่อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 30 นาที น�าไปวัดค่าการดูด
           การค�านวณความสามารถของสารต้านอนุมูลอิสระจะ  กลืนแสงที่ความยาวคลื่น 517 nm ด้วย microplate
           เปรียบเทียบค่าของสารทดสอบกับสารมาตรฐาน การ  reader จากนั้นน�าค่าดูดกลืนแสงที่ได้ไปค�านวณ

           ทดสอบสมบัติการต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดด้วย   หาค่าการยับยั้งการต้านอนุมูลอิสระและสร้างกราฟ
           DPPH โดยเตรียมอนุมูลอิสระ DPPH ความเข้มข้น   ระหว่างค่าการยับยั้งอนุมูลอิสระกับความเข้มข้น

           2 mM ด้วยตัวท�าละลายเอทานอล ท�าการเจือจาง   ของตัวอย่าง เพื่อหาค่าความเข้มข้นของตัวอย่างที่
           อนุมูลอิสระ DPPH ให้ได้ค่าการดูดกลืนแสงเท่ากับ   สามารถต้านอนุมูลอิสระ DPPH ที่ 50% (IC 50) โดย
           0.7 ± 0.03 nm จากนั้นจึงเตรียมสารต้านอนุมูล  การทดลองครั้งนี้จะท�าการทดลองซ�้าจ�านวน 3 ครั้ง

           อิสระมาตรฐาน ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้ใช้ Butylated   ต่อ 1 ตัวอย่าง การค�านวณ % การยับยั้งอนุมูลอิสระ
           Hydroxytoluene (BHT) วิตามินซี และวิตามินอี ที่  DPPH Radical มีดังนี้

                % Inhibition    =  [(Acontrol - A Sample) / A Control] ´ 100
                โดยที่ Acontrol  =  Absorbance of Control - Absorbance of Control Blank

                A sample       =  Absorbance of Sample - Absorbance of Sample Blank


                2.5  การทดสอบสมบัติการต้านอนุมูลอิสระด้วย  เอทานอล เพื่อให้ได้ค่าการดูดกลืนแสงที่ 0.7 ± 0.03
           วิธี 2,2-Azino-Bis (3-Ethylbenzothiazoline-6-  nm เตรียมสารมาตรฐาน Ascorbic Acid, BHT
           Sulfonic Acid) หรือ ABTS Assay              และ α-Tocopherol ที่ความเข้มข้น 0.625, 1.25,

                   เป็นวิธีการวัดความสามารถในการฟอก    2.5, 5, 10, 20 และ 40 µg/ml ซึ่งละลายอยู่ในเอทา
                                    •+
           สีอนุมูลอิสระเอบีทีเอส (ABTS ,2,2-Azino-bis   นอล บ่มไว้ที่อุณหภูมิห้องเป็นเวลา 45 นาที จากนั้น
           (3-Ethylbenzothiazoline-6-Sulfonic Acid)    จึงน�าไปวัดค่าการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 734

           Radical) (Figure 2) เป็นสารสังเคราะห์ที่มีสีเขียวปน  nm น�าค่าที่ได้ไปค�านวณหาเปอร์เซ็นต์ Scavenging
           น�้าเงินสามารถดูดกลืนแสงได้สูงสุดที่ความยาวคลื่น   Activity และปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระของสาร

           734 nm เริ่มจากท�าการเตรียมอนุมูล ABTS ที่ความ  สกัดสมุนไพร เพื่อหาค่าความเข้มข้นของตัวอย่างที่
           เข้มข้น 7 mM ในน�้า 10 มิลลิลิตร น�ามาท�าปฏิกิริยา  สามารถต้านอนุมูลอิสระ ABTS ที่ 50% (IC 50) โดย
           กับโพแทสเซียมเปอร์ซัลเฟต 2.45 mM ในน�้า 12.5   การทดลองครั้งนี้จะท�าการทดลองซ�้าจ�านวน 3 ครั้ง

           ml ที่อุณหภูมิ 4˚ซ ในที่มืดเป็นเวลา 18 ชั่วโมง เพื่อ  ต่อ 1 ตัวอย่าง การค�านวณ % การยับยั้งอนุมูลอิสระ
           ให้เกิดอนุมูลอิสระ ABTS จากนั้นน�าไปเจือจางด้วย   ABTS Radical ดังนี้

                % Inhibition   =  [(A control - A sample) / A control] ´ 100
                โดยที่ A control  =  Absorbance of control - Absorbance of control blank

                A sample       =  Absorbance of sample - Absorbance of sample blank
   178   179   180   181   182   183   184   185   186   187   188