Page 180 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 180
J Thai Trad Alt Med Vol. 21 No. 3 Sep-Dec 2023 663
บทนำ�และวัตถุประสงค์ หน้าแข้ง เช่น กระดูกใต้กระดูกอ่อน (sub-chondral
การศึกษาวิจัยต�ารับยาสมุนไพรของไทยเป็น bone) หนาตัวขึ้น มีการลดลงของน�้าไขข้อ ท�าให้
ความจ�าเป็นหนึ่งที่จะเพิ่มศักยภาพของประเทศและ คุณสมบัติการหล่อลื่นลดลง สาเหตุของ osteoar-
[3-4]
เป็นหนทางหนึ่งของการน�าไปสู่การพึ่งตนเองด้านยา thritis มาจากหลายปัจจัย ถึงแม้ว่าจะไม่ได้จัดอยู่ใน
ถือเป็นความมั่นคงด้านสุขภาพอย่างหนึ่งและน�าไปสู่ inflammatory arthropathy แต่การด�าเนินไปของ
ความยั่งยืนด้านเศรษฐกิจ โดยเฉพาะในเรื่องของโรค โรคมีความสัมพันธ์กับการที่ chondrocyte cells ที่
ที่เกี่ยวข้องกับความเสื่อมและความชรา ซึ่งจากข้อมูล เป็น unique cell ที่เป็นส่วนประกอบของ articular
ของ United Nations World Population Ageing cartilage ที่ฝังตัวใน extracellular matrix เกิดการ
[5]
ประเทศไทยก�าลังอยู่ในช่วงการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคม overexpression ของ pro-inflammatory media-
ผู้สูงอายุ โดยสมบูรณ์ (Complete-Aged Society) tors ต่าง ๆ เช่น IL-1, TNF-α และ nitric oxide เป็น
คือ มีสัดส่วนประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปเกิน สาเหตุให้เกิด cartilage degeneration ซึ่งมีรายงาน
ร้อยละ 20 ของประชากรโดยตัวเลขของประเทศไทย พบว่ามีปริมาณของ nitric oxide ใน chondrocyte
แต่จากข้อมูลประชากรของประเทศไทยปี 2558 cells ของผู้ป่วย osteoarthritis มากขึ้นกว่าปกติ
[6]
จ�านวนประชากรในประเทศไทยอยู่ที่ 65,203,979 ในการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยเลือกใช้เซลล์ ATDC-5
คน เป็นผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป 10,569,021 คน หรือ mouse chondrogenic cell line ที่เป็น in vitro mod-
คิดเป็นร้อยละ 16.2 ของประชากรทั้งหมด แปลว่า el ที่ดีในการศึกษาฤทธิ์ยับยั้งการอักเสบแบบเหนี่ยว
ประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแล้ว และคาด น�าให้เกิด nitric oxide ส�าหรับยาที่ใช้ในการรักษา
[7]
การณ์ว่าในปี 2564 ไทยจะเข้าสู่สังคมประชากรสูง osteoarthritis ปัจจุบันจะเป็นยาในกลุ่มของ non-
วัยแบบสมบูรณ์ หนึ่งในปัญหาด้านสาธารณสุข steroidal anti-inflammatory drugs (NSAIDs)
[1]
ที่ส�าคัญ โดยเฉพาะในผู้สูงอายุ คือ โรคข้อเสื่อม ซึ่งพบทั้งผลข้างเคียงและผลไม่พึงประสงค์
[8]
(osteoarthritis) ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงท�าให้ปัจจุบันมีการหาทางเลือกใหม่ของยาที่มี
[2]
ผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมมาก ถ้าไม่ได้รับการรักษา หรือ ประสิทธิผลและความปลอดภัยเพื่อเป็นทางเลือกของ
ปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสม อาจท�าให้มีความเจ็บปวด ข้อ การบ�าบัดรักษา โดยสมุนไพรและสารจากสมุนไพรได้
เข่าผิดรูป เดินได้ไม่ปกติ ปฏิบัติกิจวัตรประจ�าวันต่าง ๆ ถูกน�ามาใช้ ข้อมูลจากรายงานต�ารับยาแผนไทยแห่ง
ไม่สะดวก มีความทุกข์ทรมาน ทั้งทางด้านร่างกาย และ ชาติฉบับ 2561 ที่จัดท�าโดยกองคุ้มครองและส่งเสริม
จิตใจ โรคข้อเข่าเสื่อมเป็นการเสื่อมของข้อเข่า โดยพบ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย,
ว่าต�าแหน่งที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจนในโรคนี้ กองวิชาการและแผนงาน, สถาบันการแพทย์แผน
ได้แก่ กระดูกอ่อนผิวข้อ (articular cartilage) ใน ไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
ข้อชนิดมีเยื่อบุข้อ (synovial joint) จะมีการท�าลาย กระทรวงสาธารณสุข มีต�ารับยาที่น่าสนใจและน่าจะมี
กระดูกอ่อนผิวข้อ ซึ่งเกิดขึ้นช้า ๆ อย่างต่อเนื่องตาม ประสิทธิผลในการใช้บ�าบัด รักษาโรคข้อเสื่อมได้ คือ
เวลาที่ผ่านไป มีการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างของ ต�ารับยาแก้ลมอุทธังคมาวาตา ที่มาของต�ารับยามา
กระดูกอ่อนผิวข้อ รวมถึงผิวกระดูกต้นขา และกระดูก จากต�าราพระโอสถครั้งรัชกาลที่ 2 (กองคุ้มครองและ