Page 187 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 187
670 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2566
กระตุ้นด้วย carrageenan ซึ่งให้ผลใกล้เคียงกับยา การอักเสบด้วยวิธี NO assay ใน ATDC-5 mouse
[18]
ต้านการอักเสบชนิด Indomethacin กานพลู สาร chondrogenic cell ทั้งยังศึกษาความเป็นพิษต่อ
สกัดเอทานอลของดอกกานพลูซึ่งมี eugenol สามารถ เซลล์โดย MTT Assay จากผลการศึกษาพบว่าสาร
ยับยั้งการหลั่ง IL-1b, TNF-α, NO และ IL-6 ใน สกัดต�ารับยาแก้ลมอุทธังคมาวาตา มีปริมาณฟีนอลิก
[19]
เซลล์แมคโครฟาจชนิด RAW 264.7 และสารสกัด รวมเท่ากับ 479.33 ± 2.08 mg GAE/g ext. และ มี
เอทานอลของดอกกานพลูยังมีฤทธิ์ในการระงับ ปริมาณฟลาโวนอยด์รวม เท่ากับ 177.89 ± 3.02 mg
ความเจ็บปวดและต้านการอักเสบ นอกจากนี้สาร QE/g ext จากการทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระพบ
สกัดน�้าของดอกตูมกานพลูยังมีฤทธิ์ในการต้านการ ว่ายาแก้ลมอุทธังคมาวาตามีค่า IC 50 เท่ากับ 137.72
อักเสบในหนูที่เหนี่ยวน�าด้วย carrageenan และลด µg/ml เมื่อทดสอบด้วยวิธี DPPH และมี IC 50 เท่ากับ
[20]
granuloma ในโมเดล cotton pellet granuloma 27.28 µg/ml เมื่อทดสอบด้วยวิธี ABTS จากการ
โกฐเขมา สารสกัดเอทานอลของเหง้าแห้งของโกฐเขมา ศึกษาความเป็นพิษต่อเซลล์ ATDC-5 ของสารสกัด
มีฤทธิ์ในการลดการอักเสบโดยยับยั้งการหลั่ง iNOS ต�ารับยาแก้ลมอุทธังคมาวาตา ที่ความเข้มข้น 3.125,
และ PGE2 ผ่านการลดการแสดงออกของยีนและ 6.25, 12.5, 25, 50 และ 100 µg/ml ความเป็นพิษต่อ
โปรตีนชนิด iNOS และ TNF-α ในเซลล์แมคโครฟาจ เซลล์พิจารณาจากอัตราการรอดชีวิตของเซลล์ต้องไม่
ชนิด RAW 264.7 รวมทั้งมีฤทธิ์ในการลดการอักเสบ ต�่ากว่า 80% พบว่าที่ความเข้มข้นสูงสุดคือ 100 µg/
[21]
ของกระเพาะอาหารในหนูทดลอง จะเห็นได้ว่าฤทธิ์ ml ไม่ก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อเซลล์แต่หากปรับ
ของต�ารับมีความสัมพันธ์กับฤทธิ์ของสมุนไพรเดี่ยวที่ เพิ่มเป็น 200 µg/ml พบว่าสารสกัดต�ารับยาแก้ลม
ประกอบเป็นต�ารับ และจากผลการศึกษาความเป็นพิษ อุทธังคมาวาตาท�าให้อัตราการรอดชีวิตของเซลล์ลด
ต่อเซลล์พบว่าการใช้ความเข้มข้นที่สูงกว่า 100 µg/ml ลง ผลของการทดสอบฤทธิ์ต้านการอักเสบผ่านกลไก
จะท�าให้อัตราการรอดชีวิตของเซลล์ลดลงน้อยกว่า การยับยั้งไนตริกออกไซด์ พบว่าสารสกัดต�ารับยาแก้
80% หากวิเคราะห์จากต�ารับยาจะพบว่ามีการใส่พริก ลมอุทธังคมาวาตามีค่า IC 50 เท่ากับ 41.88 µg/ml มี
ไทยที่มีฤทธิ์เผ็ดร้อนมากถึง 40 ส่วน และนอกจากนี้ ฤทธิ์น้อยกว่าสารมาตรฐาน L-NA ที่มีค่า IC 50 เท่ากับ
มีการใส่การบูรและมหาหิงคุ์ ซึ่งอาจมีผลต่อการรอด 21.75 µg/ml แต่ยังถือว่ามีประสิทธิภาพสูงในการ
ชีวิตของเซลล์ ยับยั้งไนตริกออกไซด์ จึงสรุปได้ว่าต�ารับยาแก้ลมอุท
ธังคมาวาตาเป็นต�ารับยาที่น่าน�ามาศึกษาต่อยอดเพื่อ
ข้อสรุป น�าไปใช้ในการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมต่อไปในอนาคต
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาหา
ปริมาณสารฟีนอลิกโดยวิธี Folin-ciocalteu assay กิตติกรรมประก�ศ
และสารฟลาโวนอยด์โดยวิธี aluminum chloride ขอขอบพระคุณ ส�านักงานคณะกรรมการส่ง
colorimetric assay แล้วท�าการทดสอบฤทธิ์ต้าน เสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตรกรรม (สกสว.) ใน
อนุมูลอิสระโดย DPPH และ ABTS Assay ฤทธิ์ต้าน กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม