Page 186 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 186
J Thai Trad Alt Med Vol. 21 No. 3 Sep-Dec 2023 669
ของสารสกัดต�ารับยาด้วย 95% เอทานอล โดยใช้ การใช้ cotton pellet เหนี่ยวน�าให้เกิด granuloma
L-NA เป็นสารมาตรฐาน รายงานผลเป็นความเข้ม ในหนู และหนูที่ถูกเหนี่ยวน�าให้เกิดการอักเสบของ
ข้นของสารสกัด µg/ml ที่สามารถยับยั้งการสร้าง ข้ออักเสบด้วย complete Freund’s adjuvant ซึ่ง
[14]
ไนตริกออกไซด์ได้ร้อยละ 50 (inhibition concen- สารที่ออกฤทธิ์ส�าคัญคือ triterpenoids และส่วน
tration 50; IC 50) ทั้งนี้ในการค�านวณค่า IC 50 จากผล ใบของกระล�าพักที่สกัดด้วยน�้ามีฤทธิ์ในการป้องกัน
การทดสอบพบว่าสารสกัดต�ารับยาแก้ลมอุทธังคมา เซลล์ตับและต้านสารอนุมูลอิสระ โดยการลดระดับ
วาตามีค่า IC 50 เท่ากับ 41.88 µg/ml และสารมาตรฐาน บิลิรูบิน คอเลสเตอรอล ไตรกลีเซอไรด์และไขมัน
[15]
L-NA มีค่า IC 50 เท่ากับ 21.75 µg/ml รวมทั้งยังเพิ่มระดับของ glutathione ของเนื้อเยื่อ
โกฐหัวบัว สารสกัดของเหง้าโกฐหัวบัวมีฤทธิ์ในการ
อภิปร�ยผล ต้านการอักเสบและป้องกันเซลล์ตับที่ถูกท�าลาย ซึ่ง
การศึกษาในครั้งนี้เป็นการศึกษาแรกที่น�าต�ารับ พบสารออกฤทธิ์ส�าคัญคือ lignans และ phenols
ยาแก้ลมอุทธังคมาวาตามาท�าการศึกษาหาปริมาณสาร ที่มีผลในการลดการผลิต NO ในเซลล์แมคโครฟาจ
ประกอบฟีนอลิกและฟลาโวนอยด์รวม รวมทั้งท�าการ ชนิด RAW 264.7 ที่กระตุ้นด้วย LPS ซึ่งออกฤทธิ์ได้
ศึกษาฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระ ต้านการอักเสบและ ดีกว่า curcumin และยังมีการศึกษาที่ให้ผลของสาร
ความเป็นพิษในเซลล์ ATDC-5 จากผลการศึกษา สกัดเหง้าโกฐหัวบัวที่มีสารออกฤทธิ์ใหม่ 3 ชนิด คือ
พบว่าสารสกัดจากต�ารับยามีฤทธิ์ที่ดีในการต้าน chuanxiongoside A, (2E,4E)-8-(6-O-inositolyl)-
อนุมูลอิสระสอดคล้องกันทั้งวิธี DPPH (IC 50 เท่ากับ 8-oxo-2,7-dimethyl-octadienoic acid และ
137.72 µg/ml) และ ABTS (IC50 เท่ากับ 27.28 chuanxiongoside C ซึ่งมีฤทธิ์ในการลดการผลิต
µg/ml) สัมพันธ์กับการพบปริมาณ สารประกอบ NO ในเซลล์แมคโครฟาจชนิด RAW 264.7 ที่กระตุ้น
ฟีนอลิก (479.33 ± 2.08 mg GAE/g ext.) และ ด้วย LPS ดังนั้นการศึกษาก่อนหน้านี้แสดงให้เห็น
ฟลาโวนอยด์รวม (177.89 ± 3.02 mg QE/g ext.) ว่า เหง้าของโกฐหัวบัวมีฤทธิ์ในการต้านการอักเสบใน
และจากการวิเคราะห์ต�ารับพบว่าตัวยาหลักคือพริก เซลล์แมคโครฟาจและในหนูทดลอง ดีปลี พบว่าสาร
ไทยที่มีการใส่มากถึง 40 ส่วน และมีรายงานการศึกษา สกัดชั้นเอทานอลและชั้นน�้ามีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ
ก่อนหน้าเกี่ยวกับฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระและต้าน ด้วยวิธี DPPH และ ABTS radical scavenging
การอักเสบทั้งใน in vitro และ in vivo ของพริกไทย assay และฤทธิ์ต้านการอักเสบด้วยวิธีการยับยั้งการ
หลายการศึกษา [9-13] นอกจากพริกไทยแล้ว สมุนไพร หลั่งไนตริกออกไซด์ กัญชา สารสกัดเอทานอลมี
[16]
ตัวอื่นในต�ารับก็มีรายงานฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระ ฤทธิ์ในการยับยั้ง TNF-α, COX-2 และ i-NOS ใน
และต้านการอักเสบ เช่น สารสกัดเอทานอลและน�้า เซลล์โมโนไซต์ที่ถูกกระตุ้นด้วย LPS และยับยั้งการ
ของกระล�าพักมีฤทธิ์ในการต้านการอักเสบและลด อักเสบและการบวมในหนูที่ถูกเหนี่ยวน�าให้มีการบวม
การอักเสบของข้อในหนูที่ถูกเหนี่ยวน�าให้เกิดการ เรื้อรัง และมีการศึกษาที่ให้ผลของสารสกัดน�้ามัน
[17]
อักเสบด้วย carrageenan, การอับเสบเรื้อรังโดย ของเมล็ดกัญชาสามารถยับยั้งการอักเสบในหนูที่ถูก