Page 97 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 97

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 21  No. 2  May-Aug  2023  313




            ของเชื้อแบคทีเรียที่ใช้ทดสอบในแต่ละด้าน ได้แก่  mids: ดูการต้านทานยา ampicillin (ampicillin
                    1.1)  ความต้องการกรดอะมิโนฮีสทิดีน   resistance) แบคทีเรียที่มี R-factor plasmids จะ

            ของเชื้อ S. typhimurium ทั้ง 4 สายพันธุ์: สังเกต  ดื้อต่อยาเมื่อท�าการทดสอบด้วย paper disc ที่มี 8
            การเจริญของเชื้อบนอาหาร Minimal glucose     มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ampicillin วางบนเพลทที่มี
            agar (MGA; Vogel-Bonner medium E, 40%       เชื้อแบคทีเรียในอาหาร MGA ที่มีส่วนผสมของกรด

            glucose และ 1.5% agar) และอาหารเลี้ยงเชื้อที่  อะมิโนดังกล่าวข้างต้น แล้วน�าเพลทไปบ่มที่อุณหภูมิ
            คลุมผิวเพลทด้วย Top agar (0.6% agar และ     37˚ซ. เป็นเวลา 24 ชั่วโมง สังเกตผลการเจริญของ
            0.5% NaCl) ปริมาตร 2 มิลลิลิตร ที่มีส่วนผสมของ   เชื้อรอบแผ่นทดสอบส�าหรับสายพันธุ์ที่มี R-factor (S.

            0.1 M L-histidine ปริมาตร 100 ไมโครลิตร และ/  typhimurium TA98 และ TA100) จะไม่เกิดโซนใส
            หรือ 1 mM D-biotin ปริมาตร 100 ไมโครลิตร บ่ม  (clear zone) คือมีแบคทีเรียเจริญบริเวณรอบแผ่น
            ที่อุณหภูมิ 37˚ซ. เป็นเวลา 24 ชั่วโมง แบคทีเรีย   ทดสอบ

            S. typhimurium ทั้ง 4 สายพันธุ์ ที่ใช้ต้องเจริญ        1.5)  การตรวจสอบ urvB mutation: ดู
            ได้ดีในอาหารที่มีส่วนผสมของ L-histidine และ   ความไวของเชื้อต่อ mitomycin (sensitivity to

            D-biotin                                    mitomycin) เมื่อท�าการทดสอบโดยใช้ paper disc
                    1.2)  ความต้องการกรดอะมิโนทริปโตเฟน   ที่มี 0.2 ไมโครกรัม mitomycin วางบนเพลทที่มีเชื้อ
            ของเชื้อ E. coli: สังเกตการเจริญของเชื้อบนอาหาร   แบคทีเรียในอาหาร MGA ที่มีส่วนผสมของกรดอะ

            MGA ที่มีส่วนผสมของ 0.05 mM tryptophan บ่ม  มิโนดังกล่าวข้างต้น แล้วน�าเพลทไปบ่มที่อุณหภูมิ
            ที่อุณหภูมิ 37˚ซ. เป็นเวลา 24 ชั่วโมง เชื้อ E. coli ที่  37˚ซ. เป็นเวลา 24 ชั่วโมง สังเกตผลการเจริญของเชื้อ

            ใช้ต้องเจริญได้ดีบนอาหารนี้                 รอบแผ่นทดสอบ โดยแบคทีเรียที่มี urvB mutation
                    1.3)  การตรวจสอบ rfa mutation: ดู   จะเกิดโซนใส (clear zone) คือไม่มีแบคทีเรียเจริญ
            ความไวของเชื้อต่อ crystal violet (sensitivity to   บริเวณรอบแผ่นทดสอบ

            crystal violet) เมื่อท�าการทดสอบโดยใช้ paper        2)  การทดสอบฤทธิ์ก่อกลายพันธุ์ในเชื้อ
            disc ที่มี 0.1% crystal violet วางบนเพลทที่มีเชื้อ   แบคทีเรีย
            S. typhimurium ในอาหาร MGA ที่มีส่วนผสมของ         การทดสอบฤทธิ์ก่อกลายพันธุ์ใช้วิธี plate

            0.5 mM L-histidine กับ 0.5 mM D-biotin กับเพลท  incorporation ท�าการทดสอบเจลสารสกัดรากทอง
            ที่มีเชื้อ E. coli ในอาหาร MGA ที่มีส่วนผสมของ 0.5   พันชั่งที่ 6 ระดับความเข้มข้น โดยหาขนาดความเข้ม
            mM tryptophan น�าเพลทไปบ่มที่อุณหภูมิ 37˚ซ.  ข้นที่เหมาะสมในการทดสอบ ซึ่งเป็นความเข้มข้นที่

            เป็นเวลา 24 ชั่วโมง อ่านผลการทดสอบโดยแบคทีเรีย  สูงสุดของสารทดสอบที่ละลายอย่างสมบูรณ์และไม่
            ที่มี rfa mutation จะเกิดโซนใส (clear zone) คือไม่มี  เกิดตะกอน จากนั้นเตรียมสารทดสอบในความเข้ม

            แบคทีเรียเจริญบริเวณรอบแผ่นทดสอบ โดยโซนใสมี  ข้นที่เจือจางแบบ half log อีก 5 ความเข้มข้น ใช้
            ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 12-14 มิลลิเมตร   แบคทีเรียทดสอบแต่ละชนิดที่เตรียมใหม่โดยการ
                    1.4)  การตรวจสอบการมี R-factor plas-  เพาะเลี้ยงแบบเขย่าในอาหารเหลวที่อุณหภูมิ 37˚ซ.
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102