Page 93 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 93
J Thai Trad Alt Med Vol. 21 No. 2 May-Aug 2023 309
บทนำ�และวัตถุประสงค์ เยื่อหุ้มเซลล์ รูปร่างของเซลล์ผิดรูป แบน และยุบตัว
[12]
ทองพันชั่ง (Rhinacanthus nasutus (L.) ลง ส่งผลให้เกิดเซลล์ตาย จากรายงานการศึกษา
Kurz) เป็นพืชในวงศ์ Acanthaceae พบได้ในบาง เหล่านี้จะเห็นได้ว่าสารสกัดทองพันชั่งมีฤทธิ์ต้านเชื้อ
[5]
ส่วนของประเทศอินเดีย จีน เอเชียตะวันออกเฉียง รากลุ่มเดอร์มาโตไฟต์ซึ่งเป็นเชื้อก่อโรคกลาก และ
[14]
ใต้ และภูมิภาคเอเชียที่มีลักษณะทางภูมิอากาศ ต้านเชื้อ Malassezia sp. ซึ่งเป็นเชื้อก่อโรคเกลื้อน
แบบร้อนชื้น ทางการแพทย์แผนไทยใบทองพันชั่งมี รวมถึงมีฤทธิ์ต้านเชื้อราที่สามารถก่อให้เกิดการติด
สรรพคุณ ดับพิษไข้ แก้ไข้ตัวร้อน และรากทองพันชั่ง เชื้อราที่ผิวหนัง (cutaneous fungal infections)
มีสรรพคุณแก้กลากเกลื้อน ผื่นคัน และโรคผิวหนังที่ ชนิดอื่นได้ด้วย เช่น C. albicans, C. tropicalis, A.
[1-2]
เป็นน�้าเหลืองบางชนิด พืชนี้มีสารหลากหลายชนิด niger และ P. chrysogenum [12-13] ซึ่งฤทธิ์ต้านเชื้อรา
เป็นองค์ประกอบทางเคมี เช่น สารกลุ่ม naphthoqui- ดังกล่าวนี้สนับสนุนการใช้ทองพันชั่งตามต�าราแพทย์
nones, anthraquinones, flavonoids, benzenoids, แผนโบราณของไทยเพื่อการรักษาโรคผิวหนัง กลาก
glycosides, terpenoids และ sterols นอกจากนี้ ทอง และเกลื้อน โดยการใช้ทองพันชั่งตามวิธีการดังเดิม
[3]
พันชั่งยังมีรายงานฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาที่หลากหลาย เช่น นั้นจะใช้ใบสดและรากต�าให้ละเอียดแช่ในเหล้าโรง
[7-8]
[6]
[4-5]
ต้านรา ต้านแบคทีเรีย ต้านไวรัส ต้านการอักเสบ แล้วน�าตัวยาที่ได้ทาบริเวณที่มีอาการวันละ 2-3 ครั้ง
[1-2]
[9-10] บรรเทาปวด และต้านการแพ้ โดยมีสารออกฤทธิ์ จนกว่าจะหาย ซึ่งวิธีการนี้นับว่ายังคงไม่สะดวกต่อ
[9]
[11]
เป็นสารในกลุ่ม napthoquinones และมีสารออกฤทธิ์ การน�าไปใช้จริงในชีวิตประจ�าวัน
หลัก คือ ไรนาแคนทิน ซี (rhinacanthin C) [4-11] ปัจจุบันมีการน�าทองพันชั่งมาท�าเป็นยาในรูป
สารสกัดทองพันชั่งมีฤทธิ์ในการต้านเชื้อราหลาก แบบ “ยาทิงเจอร์ทองพันชั่ง’’ ซึ่งยาดังกล่าวนี้ได้บรรจุ
หลายชนิด เช่น เชื้อยีสต์ ได้แก่ Candida albicans, อยู่ในบัญชียาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ
C. tropicalis, Malassezia furfur และ M. glo- โดยมีข้อบ่งใช้เป็นยาทาแก้กลาก เกลื้อน โรคผิวหนัง
bosa เชื้อราในกลุ่มเดอร์มาโตไฟต์ (dermatophytes) ที่เกิดจากเชื้อรา และน�้ากัดเท้า ท�าให้ทองพันชั่งอยู่ใน
ได้แก่ Trichophyton rubrum, T. mentagro- รูปแบบยาที่สะดวกและพร้อมใช้งานมากขึ้น อย่างไร
phytes, Microsporum canis, M. gypseum, และ ก็ตาม ต�ารับยาดังกล่าวไม่มีการก�าหนดปริมาณสาร
Epidermophyton floccosum รวมถึงเชื้อราในกลุ่ม ส�าคัญในการออกฤทธิ์ ระบุเพียงมีตัวยาส�าคัญเป็นสาร
ที่ไม่ใช่เดอร์มาโตไฟต์ (non-dermatophytes) ได้แก่ สกัดเอทิลแอลกอฮอล์ (70 เปอร์เซ็นต์) ของใบทองพัน
Aspergillus niger และ Penicillium chrysoge- ชั่งสด ร้อยละ 10 โดยน�้าหนักต่อปริมาตร (w/v) ซึ่ง
[15]
num [5,12-14] โดยพบว่าสารสกัดใบทองพันชั่งมีฤทธิ์ฆ่า การไม่ก�าหนดปริมาณสารส�าคัญอาจท�าให้การผลิตยา
เชื้อรา (fungicidal activity) กลุ่มเดอร์มาโตไฟต์ที่ แต่ละครั้งมีคุณภาพไม่คงที่ และมีผลต่อประสิทธิผล
ความเข้มข้นของสารสกัดสูงกว่าค่าความเข้มข้นต�่า ของยาในการรักษาโรค นอกจากนี้ยาในรูปแบบ
สุดที่สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อ (minimum ทิงเจอร์จะมีปริมาณแอลกอฮอล์ในต�ารับสูง จึงมักก่อ
inhibitory concentration, MIC) โดยสารสกัดไป ให้เกิดการระคายเคืองในบริเวณเนื้อเยื่ออ่อน ผิวหนัง
มีผลต่อผนังเซลล์ของเชื้อท�าให้เกิดความผิดปกติของ ที่มีบาดแผลหรือมีแผลเปิด และการใช้สารสกัดจาก