Page 96 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 96
312 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2566
propylparaben มีวิธีการเตรียมคือน�าสารก่อเจล โรแอซิติกในน�้า ในอัตราส่วน 72:28 อัตราการไหล
sodium CMC โปรยลงในน�้า จากนั้นเติม glycerin, ของวัฏภาคเคลื่อนที่ 1 มิลลิลิตรต่อนาที เป็นเวลา
polyethylene glycol 400, propylene glycol, para- 20 นาที ตรวจวัดการดูดกลืนแสงอัลตราไวโอเลตที่
ben concentrate และ EDTA แล้วผสมให้เข้ากัน น�า ความยาวคลื่น 254 นาโนเมตร ใช้ตัวอย่างของต�ารับ
ethanol และ Cremophor RH40 มาใช้ละลายสาร เจลสารสกัดรากทองพันชั่งที่เตรียมได้ตามวิธีข้างต้น
สกัดรากทองพันชั่งแล้วใส่ลงในต�ารับยาเตรียม เติม ปริมาตร 50 ไมโครลิตรส�าหรับการวิเคราะห์ และใช้
น�้าส่วนที่เหลือลงไปผสมให้เข้ากัน น�าต�ารับที่เตรียมได้ พื้นที่ใต้พีคค�านวณปริมาณสารไรนาแคนทิน ซี จาก
ไปตรวจสอบลักษณะทางกายภาพ และ pH ของต�ารับ สมการเส้นตรงของกราฟสารมาตรฐานไรนาแคนทิน
รวมถึงวิเคราะห์หาปริมาณสารไรนาแคนทิน ซี ใน ซี ที่มีความเข้มข้น 10, 40, 70, 100, 130 และ 160
ต�ารับยาเตรียม ตรวจสอบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร
และตรวจสอบการปนเปื้อนจากโลหะหนักในต�ารับ 2.5 การประเมินความปลอดภัยของต�ารับเจล
2.4 การวิเคราะห์ปริมาณสารไรนาแคนทิน ซี สารสกัดรากทองพันชั่ง
ในเจลสารสกัดรากทองพันชั่งด้วยวิธี RP-HPLC [16] 2.5.1 การทดสอบการก่อกลายพันธุ์ในเชื้อ
การหาปริมาณสารไรนาแคนทิน ซี ในต�ารับเจล แบคทีเรียด้วยวิธีการตาม OECD Guidelines No.
[17]
สารสกัดรากทองพันชั่งใช้วิธี RP-HPLC โดยเตรียม 471
ตัวอย่างส�าหรับวิเคราะห์ด้วยการชั่งต�ารับเจลสารสกัด การทดสอบการก่อกลายพันธุ์ของเจลสารสกัด
รากทองพันชั่งน�้าหนัก 1 กรัม น�าไปละลายในเอทานอล รากทองพันชั่งในแบคทีเรียใช้วิธีการทดสอบอ้างอิง
99.9% ให้ได้ปริมาตร 10 มิลลิลิตร ใน volumetric ตาม OECD test guideline ที่ 471 หรือเรียกว่าวิธี
flask แล้วต้มที่อุณหภูมิ 50˚ซ. เป็นเวลา 30 นาที จาก ทดสอบเอมส์ (Ames test) ใช้เชื้อแบคทีเรียในการ
นั้นแช่เย็นที่อุณหภูมิ -20˚ซ. เพื่อเร่งการตกตะกอน ทดสอบรวม 5 ชนิด ประกอบด้วย เชื้อ Salmonella
ของสารก่อเจลเป็นเวลา 30 นาที เมื่อครบก�าหนดน�าไป typhimurium จ�านวน 4 สายพันธุ์ (TA98, TA100,
ปั่นที่ 3,000 rpm เป็นเวลา 15 นาที แล้วน�าส่วนใสมา TA1535, และ TA1537) ได้จาก Japan Collection
กรองผ่าน 0.45 µm nylon filter การเตรียมตัวอย่าง of Microorganisms (JCM) และเชื้อ Escherichia
ส�าหรับฉีดจะผสมสารละลายที่เตรียมข้างต้นกับ coli WP2 uvrA ได้จาก Leibniz Institute DMSZ-
เมทานอลในอัตราส่วน 1:1 โดยปริมาตร แล้วบรรจุใส่ German Collection of Microorganisms and Cell
ขวดส�าหรับฉีด HPLC ส�าหรับน�าไปวิเคราะห์ปริมาณ Cultures โดยเพาะเลี้ยงในอาหารเหลวชนิด Oxid
สารไรนาแคนทิน ซี ใช้วัฏภาคคงที่ (stationary phase) nutrient broth No.2 และ Luria broth ตามล�าดับ
เป็นคอลัมน์ชนิด VertiSep UPS C 18 HPLC Column และเก็บรักษาเชื้อแบคทีเรียในตู้แช่เยือกแข็ง -80˚ซ
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4.6 มม. 5 ความยาว 250 หรือเก็บที่ liquid nitrogen ก่อนน�ามาใช้งาน การ
มม. ขนาดอนุภาค 5 ไมครอน และใช้วัฏภาคเคลื่อนที่ ทดสอบมีขั้นตอน ดังนี้
ประกอบด้วย 0.1% (v/v) กรดไตรฟลูออโรแอซิติก 1) การทดสอบคุณสมบัติเชื้อแบคทีเรีย
ในแอซิโตไนไตรล์ และ 0.1% (v/v) กรดไตรฟลูออ- ก่อนเริ่มการทดสอบ ตรวจยืนยันคุณสมบัติ