Page 94 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 94

310 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 21  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2566




           ใบทองพันชั่งสดท�าให้มีสารสีเขียวของคลอโรฟิลล์ปน  ชั่งโดยการทดสอบการระคายเคืองในอาสาสมัครคน
           อยู่ในต�ารับ ซึ่งสารสีดังกล่าวนี้เปื้อนเสื้อผ้าได้ ดังนั้น  ไทยสุขภาพดีด้วยวิธี Single patch test

           คณะผู้วิจัยนี้จึงพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรต้านเชื้อรา
           จากทองพันชั่ง โดยเลือกใช้สารสกัดจากส่วนรากทอง           ระเบียบวิธีศึกษ�
           พันชั่งซึ่งมีปริมาณสารส�าคัญ ไรนาแคนทิน ซี สูงกว่า

                                            [5]
           ส่วนอื่นของพืชมาเป็นส่วนประกอบในต�ารับ พัฒนา  1. วัสดุ
           ต�ารับในระดับห้องปฏิบัติการให้อยู่ในรูปแบบเจลที่มี     1.1 สารเคมี
           การก�าหนดปริมาณสารส�าคัญชัดเจน โดยให้ต�ารับมี     Sodium CMC, Cremophor RH40, PEG

           ปริมาณสารไรนาแคนทิน ซี ร้อยละ 0.1 โดยน�้าหนัก ซึ่ง  400, refined glycerine USP grade และ pro-
           ต�ารับดังกล่าวมีประสิทธิผลในการต้านเชื้อรา ไม่ท�าให้  pylene glycol USP grade ใช้สารเคมีชนิด phar-
           เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง และไม่ก่อให้เกิดการ  maceutical grade จากบริษัท P.C. Drug Center

           แพ้ในสัตว์ทดลอง เมื่อท�าการทดสอบตามมาตรฐาน   (กรุงเทพมหานคร, ประเทศไทย); EDTA ได้จาก
           ISO 10933-10: 2010 นอกจากนี้ ต�ารับผลิตภัณฑ์เจล  บริษัท Univar Solutions (Washington, USA)

           สารสกัดรากทองพันชั่งที่ได้ มีปริมาณแอลกอฮอล์ใน  methyl paraben, propyl paraben และ trifluo-
           ต�ารับลดลง และไม่มีสารสีเขียวของคลอโรฟิลล์ปนอยู่  roacetic acid ได้จากบริษัท Sigma-Aldrich (St.
                 [16]
           ในต�ารับ                                    Louis, MO, USA)  ethanol, citric acid mono-
                การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความ  hydrate และ tri-sodium citrate dihydrate ได้
           ปลอดภัยของต�ารับเจลสารสกัดรากทองพันชั่งที่  จากบริษัท Merck (Darmstadt, Germany) โดยใช้

           พัฒนาขึ้น โดยทดลองเพิ่มขนาดการผลิตต�ารับเจล  สารเคมีชนิด analytical grade; acetronitrile และ
           สารสกัดรากทองพันชั่งในโรงงานต้นแบบ ตรวจ     methanol ใช้ตัวท�าละลายชนิด HPLC grade จาก
           วิเคราะห์คุณภาพของต�ารับ และน�าต�ารับไปทดสอบ  บริษัท J.T. Baker (Maharashtra, India)

           ความปลอดภัยตามข้อก�าหนดขององค์การเพื่อความ      Oxid nutrient broth No.2 ได้จากบริษัท
           ร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organisation   Oxoid Limited (Hampshire, UK) Volgel-Bonner
           for Economic Co-operation and Development,   medium E และS9 enzyme ได้จากบริษัท Molecu-

           OECD) ได้แก่ การทดสอบการก่อกลายพันธุ์ใน     lar Toxicology Inc. (Boone, NC, USA) Cofactor-I
           เชื้อแบคทีเรีย (OECD Guideline for Testing of   ได้จากบริษัท Oriental yeast Co. LTD. (Tokyo,
           Chemical: Bacterial Reverse Mutation Test)   Japan) agar และ sodium chloride ได้จากบริษัท

           Test No. 471 และ การทดสอบการระคายเคือง      Merck (Darmstadt, Germany) Luria broth,
           ทางผิวหนัง/การกัดกร่อนในสัตว์ทดลอง (OECD    glucose, L-histidine, D-biotin, tryptophan,

           Guideline for Testing of Chemicals: Acute   crystal violet, ampicillin, mitomycin, 2-ni-
           Dermal Irritation/Corrosion) Test No. 404 รวม  trofluorene, sodium azide, acridine mutagen
           ถึงศึกษาความปลอดภัยของเจลสารสกัดรากทองพัน   ICR191, 4-nitroquinoline-N-oxide, 4-nitro-o-
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99