Page 95 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 95

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 21  No. 2  May-Aug  2023  311




            phenylenediamine และ 2-aminoanthracene ได้       2.2  การวิเคราะห์ปริมาณสารไรนาแคนทิน ซี
            จากบริษัท Sigma-Aldrich (St. Louis, MO, USA)   ในสารสกัดรากทองพันชั่ง [16]

                 1.2 ตัวอย่างพืช                             การวิเคราะห์ปริมาณสารไรนาแคนทิน ซี ใน
                 รากทองพันชั่งเก็บจากต้นทองพันชั่งที่มาจากต้น  สารสกัดรากทองพันชั่งด้วยวิธี RP-HPLC ใช้เครื่อง
            พันธุ์ที่เคยตรวจระบุชื่อชนิดพันธุ์พืช และเก็บรักษา  HPLC-PDA และใช้คอลัมน์ VertiSep UPS C 18

            ตัวอย่างพรรณไม้อ้างอิงเพื่องานวิจัย (Herbarium   HPLC Column (Thailand) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
            no. BKF 194241) ที่ส�านักหอพรรณไม้ กรมอุทยาน  4.6 มม.  5 ความยาว 250 มม. ขนาดอนุภาค 5
            แห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช กรุงเทพมหานคร โดย  ไมครอน โดยมีวัฏภาคเคลื่อนที่ประกอบด้วย 0.1%

            เก็บรากจากพืชที่มีอายุมากกว่า 6 เดือน จากอ�าเภอ  (v/v) กรดไตรฟลูออโรแอซิติกในแอซิโตไนไตรล์ และ
            บางแพ จังหวัดราชบุรี เดือนกันยายน 2562      0.1% (v/v) กรดไตรฟลูออโรแอซิติกในน�้า อัตราส่วน
                                                        75:25 อัตราการไหล 1 มิลลิลิตรต่อนาที เป็นเวลา
            2. วิธีก�รศึกษ�                             20 นาที ตรวจวัดการดูดกลืนแสงอัลตราไวโอเลต

                 2.1  การเตรียมสารสกัดรากทองพันชั่ง [16]  ที่ความยาวคลื่น 254 นาโนเมตร ปริมาณสารไรนา-

                 รากทองพันชั่งสดน�ามาล้างเพื่อก�าจัดเศษดินที่  แคนทิน ซี ในสารสกัดรากทองพันชั่งวิเคราะห์โดยใช้
            ติดรากด้วยน�้าสะอาด และคัดแยกสิ่งปนเปื้อนออก   สารละลายสารสกัดรากทองพันชั่งในเมทานอลที่ความ
            จากนั้นน�ามาผึ่งในที่พ้นแสงให้แห้งที่อุณหภูมิห้อง   เข้มข้น 100 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ปริมาตรที่ฉีด 50

            และบดให้มีขนาดเล็กกว่า 2 มิลลิเมตรหรือสามารถ  ไมโครลิตร โดยวิเคราะห์ตัวอย่างสารสกัดละ 3 ครั้ง
            ผ่านแร่งขนาด 10 mesh ได้ น�าผงรากแห้งไปหมัก  และใช้พื้นที่ใต้พีคค�านวณปริมาณสารไรนาแคนทิน ซี

            ด้วย เอทานอล 95%  ในอัตราส่วน 1 กรัมของสมุนไพร  จากสมการเส้นตรงของกราฟสารมาตรฐานไรนา-
            แห้งต่อเอทานอล 20 มิลลิลิตร เป็นระยะเวลามากกว่า   แคนทิน ซี ที่มีความเข้มข้นในช่วงการวิเคราะห์ 10-
            16 ชั่วโมง และสกัดต่อด้วยคลื่นอัลตราโซนิค 15 นาที   100 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร

            โดยท�าการสกัดตามขั้นตอนข้างต้นซ�้า 2 ครั้ง กรอง     2.3  การเตรียมต�ารับเจลสารสกัดรากทองพัน
            และน�าส่วนเอทานอลไประเหยแห้งภายใต้สุญญากาศ  ชั่งที่มีความเข้มข้นของสารไรนาแคนทิน ซี 0.1% [16]
            ที่อุณหภูมิ 37˚ซ. ได้สารสกัดหยาบของรากทองพัน     เจลสารสกัดรากทองพันชั่ง (0.1% rhinacan-

            ชั่ง จากนั้นน�าสารสกัดหยาบที่ได้มาสกัดแยกต่อด้วย  thin C) ผลิตโดยห้องปฏิบัติการโรงงานต้นแบบผลิต
            น�้ากับเอทิลแอซีเทต น�าสารสกัดชั้นเอทิลแอซีเทตไป  ผลิตภัณฑ์สมุนไพร สถาบันวิจัยสมุนไพร โดยใน
            ระเหยแห้งภายใต้สุญญากาศที่อุณหภูมิ 37˚ซ. ได้  เจลสารสกัดรากทองพันชั่งมีสารส�าคัญคือสารไรนา-

            สารสกัดรากทองพันชั่งแห้ง และท�าแห้งแบบแช่เยือก  แคนทิน ซี 0.1% w/w และส่วนประกอบในต�ารับอื่น ๆ
            แข็งต่อเป็นระยะเวลา 6 ชั่วโมง เก็บรักษาตัวอย่างสาร  ได้แก่ water, PEG400, 95% ethanol, glycerine,

            สกัดในโถแก้วดูดความชื้น (desiccator) จนกระทั่งน�า  propylene glycol, sodium CMC, Cremophor
            ไปใช้วิเคราะห์ปริมาณสารไรนาแคนทิน ซี และเตรียม  RH40, tri-sodium citrate dehydrate, citric
            ต�ารับเจลสารสกัดรากทองพันชั่ง               acid monohydrate, EDTA, methylparaben,
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100