Page 83 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 83

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 21  No. 2  May-Aug  2023  299




            โรงพยาบาลพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ยังคงมี  นิยำมศัพท์เฉพำะ
            ปัญหาด้านการนอนหลับ โดยโรคนอนไม่หลับยังคง        1.  การศึกษาย้อนหลัง (retrospective

            เป็นปัญหาที่ส�าคัญต่อสุขภาพ จากการศึกษาข้อมูล   study)
            เวชระเบียนย้อนหลังในผู้ป่วยที่มีอาการนอนไม่หลับ      เป็นรูปแบบกระบวนการศึกษาค้นคว้าหาความ
            พบว่า มีการใช้ยาเพื่อรักษาโรคนอนไม่หลับทั้งรูปแบบ  รู้ หรือข้อมูลที่มีอยู่เดิมเพื่อตอบประเด็นที่สงสัย

            ยาแผนปัจจุบันและต�ารับยาสมุนไพร อย่างไรก็ตาม  เป็นการศึกษาวิจัยจากข้อมูลเวชระเบียนและฐาน
            การนอนหลับยังคงเป็นปัจจัยที่ส�าคัญต่อสุขภาพของ  ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ย้อนหลังจากคลินิกกัญชา
                 [7]
            มนุษย์                                      ทางการแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลพุนพิน จังหวัด
                 การศึกษานี้จึงมีความสนใจที่จะศึกษา     สุราษฎร์ธานี
            ประสิทธิผลของต�ารับยาสมุนไพรที่ใช้ในการรักษา     2. ต�ารับยาสมุนไพรไทย (herbal formula-
            โรคนอนไม่หลับ อันประกอบด้วย ต�ารับยาศุขไสยาศน์   tions)

            ยาน�้ามันกัญชา (ต�ารับหมอเดชา) และยาหอมเทพจิตร      การศึกษาข้อมูลย้อนหลังจากต�ารับยาสมุนไพร
            ซึ่งมีสรรพคุณช่วยให้นอนหลับ จึงได้ด�าเนินการศึกษา  ไทย จ�านวน 3 ต�ารับ ที่ใช้ในการรักษาโรคนอนไม่หลับ

            ข้อมูลย้อนหลังดังกล่าว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา  ประกอบด้วย ต�ารับยาศุขไสยาศน์ น�้ามันกัญชา (ต�ารับ
            ประสิทธิผลของต�ารับยาสมุนไพรไทยในการรักษาโรค  หมอเดชา) และยาหอมเทพจิตร
            นอนไม่หลับโรงพยาบาลพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี      3. โรคนอนไม่หลับ (insomnia)

            พ.ศ. 2562-2564 เป็นการพัฒนาต่อยอดการศึกษา        โรคความผิดปกติเกี่ยวกับการนอน ส่งผลท�าให้
            เบื้องต้นถึงประสิทธิผลของต�ารับยาสมุนไพรที่ช่วย  ผู้ป่วยนอนไม่หลับ หลับยาก หรือหลับไม่สนิท ระยะ

            ให้นอนหลับ และส่งเสริมให้มีการใช้ต�ารับยาสมุนไพร  เวลามากกว่า 1 เดือน โดยอาการเหล่านี้เกิดขึ้นต่อเนื่อง
            ไทยอย่างเหมาะสม และเป็นทางเลือกใหม่ในการรักษา  และส่งผลกระทบต่อชีวิตประจ�าวัน
            โรคนอนไม่หลับให้กับประชาชนต่อไป


                 Conceptual framework
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88