Page 85 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 85

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 21  No. 2  May-Aug  2023  301




            เป็นครั้งคราว (1 คะแนน) บ่อย ๆ ครั้ง (2 คะแนน) และ  การรักษาโรคนอนไม่หลับ
            เป็นประจ�า (3 คะแนน) คิดเป็นคะแนนรวมระหว่าง        -  ส่วนที่ 3 แบบบันทึกคุณภาพการนอนหลับ

            0-15 คะแนน มีจุดตัดคะแนนที่ < 4 เพื่อจ�าแนกภาวะ  ย้อนหลัง
            เครียดเป็น 3 กลุ่มคือ                              -  ส่วนที่ 4 แบบบันทึกระดับความเครียด
                    กลุ่มที่ไม่มีความเครียด < 4 คะแนน   (ST- 5)

                    สงสัยว่ามีปัญหาความเครียด 5-7 คะแนน        -  ส่วนที่ 5 แบบบันทึกความเสี่ยงในการเกิด
                    และน่าจะป่วยด้วยความเครียด ≥ 8      โรคซึมเศร้า 2 ค�าถาม (2Q)
                 ส่วนที่ 5  แบบบันทึกความเสี่ยงในการเกิดโรค     5.  น�าข้อมูลที่มีอยู่ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ

            ซึมเศร้า (2Q) เป็นแบบคัดกรองค้นหาผู้ที่มีแนวโน้ม  ความถูกต้อง พร้อมทั้งแก้ไขปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ
            หรือเสี่ยงต่อการป่วยด้วยโรคซึมเศร้าเพื่อประเมิน     6.  อภิปรายและสรุปผลการศึกษา
                                 [9]
            ภาวะซึมเศร้าใน 2 สัปดาห์  โดยค�าตอบมี 2 แบบ
            คือ มีและไม่มีถ้าค�าตอบมีในข้อใดข้อหนึ่ง หรือทั้ง 2   จริยธรรมกำรวิจัยในมนุษย์
            ข้อ หมายถึง เป็นผู้มีความเสี่ยงหรือมีแนวโน้มที่ป่วย     การศึกษาครั้งนี้ได้ผ่านการรับรองจากคณะ

            เป็นโรคซึมเศร้าจึงจ�าเป็นต้องประเมินอีกครั้งด้วยแบบ  กรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ ของ
            ประเมินที่มีความจ�าเพาะสูง                  ส�านักงานสาธารณสุขจังหวัดสุราษฎร์ธานี เลขที่
                                                        โครงการวิจัย STPHO2022-096 รับรองเมื่อวันที่ 20
            2. วิธีกำรศึกษำ                             มกราคม 2566

                 1.  ท�าหนังสือขออนุญาตผู้อ�านวยการโรง

            พยาบาลพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี เพื่อรวบรวม  กำรวิเครำะห์ข้อมูล
            ข้อมูลเวชระเบียนและฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ย้อน     1.  วิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคล เพศ อายุ
            หลังน�ามาเป็นข้อมูลในการศึกษา               น�้าหนัก ส่วนสูงดัชนีมวลกาย (Body Mass Index :

                 2.  ด�าเนินการสืบค้นเวชระเบียนและฐานข้อมูล  BMI) โรคประจ�าตัว และการออกก�าลังกายของกลุ่ม
            อิเล็กทรอนิกส์ย้อนหลัง 3 ปี พ.ศ. 2562-2564 ให้  ตัวอย่างโดยใช้สถิติพรรณนา (descriptive statistic)
            ครอบคลุมหัวข้อที่จะด�าเนินการศึกษา          ได้แก่ ค่าร้อยละ (percentage) การแจกแจงความถี่

                 3.  ยื่นแบบเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับ  (frequency) ค่าเฉลี่ย (mean) และส่วนเบี่ยงเบน
            การพิจารณาจริยธรรมการศึกษาวิจัยในมนุษย์ต่อ  มาตรฐาน (standard division)
            ส�านักงานสาธารณสุข จังหวัดสุราษฎร์ธานี           2.  วิเคราะห์เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยคุณภาพ

                 4.  ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลให้ครอบคลุมการวิจัย   การนอนหลับภายในกลุ่มก่อนและหลังได้รับต�ารับ
            ประกอบด้วย                                  ยาสมุนไพร โดยการทดสอบที่แบบไม่เป็นอิสระต่อ

                   -  ส่วนที่ 1 ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคล   กัน (paired t-test) ก�าหนดระดับนัยส�าคัญทางสถิติ
                   -  ส่วนที่ 2 ประวัติการใช้ต�ารับยาสมุนไพรใน  ที่ 0.05
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90