Page 84 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 84

300 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 21  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2566




                       ระเบียบวิธีศึกษำ                    2.  มีข้อมูลการประเมินอาการไม่พึงประสงค์ต่อ

                การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาข้อมูลย้อนหลัง   การใช้ยาสมุนไพร
           (retrospective study) จากเวชระเบียนและฐาน       3. มีประวัติการนอนไม่หลับ น้อยกว่า 1 เดือน
           ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.      4. ข้อมูลเวชระเบียนไม่ครบตามวัตถุประสงค์

           2562 ถึง 30 กันยายน พ.ศ. 2564 ระยะเวลา 3 ปี   การศึกษา
           ติดตามอาการ 1 เดือน วัดผลภายในกลุ่มก่อนและ      5. มีประวัติการใช้ยานอนหลับแผนปัจจุบัน

           หลังการทดลอง                                    1.2 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
                                                       เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาในครั้งนี้ ศึกษาจากข้อมูล
           1.วัสดุ                                     5 ส่วน ประกอบด้วย

                1.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง                ส่วนที่ 1  ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคล ประกอบด้วย
                กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์รหัส  เพศ อายุ น�้าหนัก ส่วนสูงดัชนีมวลกาย (Body Mass

           วินิจฉัย G470 [โรคนอนไม่หลับ (insomnia)] หรือ   Index : BMI) โรคประจ�าตัว และการออกก�าลังกาย
           การวินิจฉัยจากแพทย์แผนไทยรหัสวินิจฉัย U7522      ส่วนที่ 2  ประวัติการใช้ต�ารับยาสมุนไพรใน
           (โรคนอนไม่หลับ) ทั้งผู้ป่วยทั้งเพศชายและเพศหญิง   การรักษาโรคนอนไม่หลับต�ารับยาศุขไสยาศน์ น�้ามัน

           ที่มาเข้ารับบริการในคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผน  กัญชา (ต�ารับหมอเดชา) และยาหอมเทพจิตร
           ไทยโรงพยาบาลพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี พ.ศ.      ส่วนที่ 3  แบบบันทึกคุณภาพการนอนหลับ
           2562-2564 จ�านวน 50 ราย                     ย้อนหลังตามแบบประเมินคุณภาพการนอนหลับของ

                คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (purposive   พิตซ์เบิร์ก (The Pittsburgh Sleep Quality Index:
           sampling) เป็นการเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยยึดถือ  PSQI) และแปลเป็นภาษาไทย  ประกอบด้วย ข้อมูล
                                                                             [8]
           วัตถุประสงค์ของการวิจัยเป็นหลักศึกษาข้อมูลเวช  แบบบันทึกพฤติกรรมการนอนหลับ 8 ข้อ และแบบ

           ระเบียนและฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่มีการใช้ต�ารับ  บันทึกสาเหตุการนอนไม่หลับ 9 ข้อ ติดตามอาการ 1
           ยาสมุนไพรในการรักษาโรคนอนไม่หลับ พ.ศ. 2562-  ครั้ง ระยะเวลา 1 เดือน

           2564 ประกอบด้วย ต�ารับยาศุขไสยาศน์ น�้ามันกัญชา      การแปลผล รวมคะแนนทั้ง 7 องค์ประกอบของ
           (ต�ารับหมอเดชา) และยาหอมเทพจิตร             แบบประเมินคุณภาพการนอนหลับ อยู่ระหว่าง 0-21
                เกณฑ์คัดเข้า (inclusion criteria) ดังนี้   คะแนน โดยคะแนนน้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 คะแนน

                1.  อายุมากกว่าหรือเท่ากับ 20 ปีขึ้นไป  หมายถึง มีคุณภาพการนอนหลับที่ดีและคะแนนรวม
                2.  ได้รับการวินิจฉัยด้วยโรคนอนไม่หลับ  ที่มากกว่า 5 คะแนน หมายถึง มีคุณภาพการนอนหลับ

                3.  มีประวัติการนอนไม่หลับ มากกว่า 1 เดือน  ที่ไม่ดี
                4.  ได้รับการรักษาด้วยต�ารับยาศุขไสยาศน์ หรือ     ส่วนที่ 4  แบบบันทึกระดับความเครียด (ST- 5)
           น�้ามันกัญชา (ต�ารับหมอเดชา) หรือยาหอมเทพจิตร      เป็นแบบวัดระดับความเครียด 5 ข้อเพื่อประเมิน

                                                                                             [9]
                เกณฑ์คัดออก (exclusion criteria) ดังนี้  อาการหรือความรู้สึกที่เกิดขึ้นในระยะ 2-4 สัปดาห์
                1.  ไม่มีข้อมูลการรักษาด้วยต�ารับยาสมุนไพร  แบ่งการประเมินเป็น 4 ระดับคือแทบไม่มี (0 คะแนน)
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89