Page 87 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 87

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 21  No. 2  May-Aug  2023  303




            Table 2  Effects of Thai herbal formulations on sleep quality using Pittsburgh Sleep Quality Index (PSQI)

             Variable                    n                  SD           t        df     p-value
             Before therapy             50      10.06      2.780      15.658      49     < 0.001

             After therapy              50      5.20       2.090



                 ส่วนที่ 4 ระดับความเครียด (ST-5)            เปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนแบบ
                 กลุ่มตัวอย่างก่อนการรับประทานต�ารับยา  บันทึกระดับความเครียด ก่อนการรับประทานต�ารับ

            สมุนไพร ยาน�้ามันกัญชา (ต�ารับหมอเดชา) ยาศุขไส  ยาสมุนไพร มีคะแนนเฉลี่ยระดับความเครียด 1.38
            ยาศน์ ยาหอมเทพจิตร เพื่อรักษาโรคนอนไม่หลับ พบ  คะแนน ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.53 คะแนน ในขณะ

            ว่า มีคะแนนระดับความเครียดอยู่ในระดับต�่า คิดเป็น  ที่หลังการรับประทานต�ารับยาสมุนไพรมีคะแนนเฉลี่ย
            ร้อยละ 64 ติดตามอาการหลังการใช้ต�ารับยาสมุนไพร   ระดับความเครียดลดลงเป็น 1.04 คะแนน ค่าเบี่ยง
            1 เดือน พบว่า มีคะแนนระดับความเครียดอยู่ในระดับ  เบนมาตรฐานเท่ากับ 0.19 คะแนน ซึ่งพบว่ามีความ

            ต�่าเช่นเดิม แต่มีแนวโน้มระดับความเครียดลดลง ตาม  แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (p < 0.001)
            ล�าดับ คิดเป็นร้อยละ 96                     (Table 3)



            Table 3  Effects of Thai herbal formulations on stress using Stress Test Questionnaire (ST-5)

             Variable                    n                  SD          t        df    p-value

             Before therapy             50       1.38      0.53      4.629      49     < 0.001
             After therapy              50       1.04      0.19




                 ส่วนที่ 5 ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคซึมเศร้า (2Q)  มาตรฐาน 0.141 คะแนน ในขณะที่หลังการรับประทาน
                 เปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนแบบ      ต�ารับยาสมุนไพรมีคะแนนเฉลี่ยความเสี่ยงต่อการเกิด
            บันทึกความเสี่ยงต่อการเกิดโรคซึมเศร้า (2Q) ก่อน  โรคซึมเศร้าลดลงเป็น 0 คะแนน ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
            การรับประทานต�ารับยาสมุนไพร มีคะแนนเฉลี่ยความ  เท่ากับ 0 คะแนน ซึ่งพบว่า ไม่มีความแตกต่างกันอย่าง

            เสี่ยงต่อการเกิดโรคซึมเศร้า 0.02 คะแนนค่าเบี่ยงเบน  มีนัยส�าคัญทางสถิติ (p > 0.05) (Table 4)



            Table 4  Effects of Thai herbal formulations on depression using Patient Health Questionnaire-2 (PHQ-2)
             Variable                    n                  SD          t        df    p-value

             Before therapy             50       0.02      0.141     1.000      49      0.322
             After therapy              50       0.00      0.000
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92