Page 86 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 86
302 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2566
ผลกำรศึกษำ ร้อยละ 64
ส่วนที่ 1 ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคล ส่วนที่ 2 ประวัติการใช้ต�ารับยาสมุนไพรใน
กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาในครั้งนี้จ�านวน 50 ราย พบ การรักษาโรคนอนไม่หลับ
ว่าผู้ป่วยเป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย โดยเป็นเพศ ต�ารับยาสมุนไพรที่มีการใช้ในการรักษาโรคนอน
หญิง คิดเป็นร้อยละ 78 และเพศชาย คิดเป็นร้อยละ ไม่หลับ พบว่าส่วนใหญ่มีการสั่งจ่ายต�ารับยาสมุนไพร
22 มีอายุเฉลี่ย 60 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 64 โดยส่วน จากมากที่สุดไปน้อยที่สุด ดังนี้ ยาน�้ามันกัญชา (ต�ารับ
ใหญ่กลุ่มตัวอย่างมีดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติคิด หมอเดชา) คิดเป็นร้อยละ 40 รองลงมา คือ ยาหอม
เป็นร้อยละ 38 มีโรคประจ�าตัว อย่างน้อย 1 ชนิด กล่าว เทพจิตร คิดเป็นร้อยละ 32 และยาศุขไสยาศน์ คิดเป็น
คือโรคประจ�าตัวเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 28 ซึ่งพบว่าต�ารับยาศุขไสยาศน์ น�้ามันกัญชา
มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 32 เท่ากัน กลุ่มตัวอย่างทุก (ต�ารับหมอเดชา) และยาหอมเทพจิตร การช่วยให้นอน
คนเคยออกก�าลังกายประเภทต่าง ๆ มาแล้วอย่างน้อย หลับไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ
1 ชนิด ออกก�าลังกายโดยการเดินเร็วมากที่สุด คิดเป็น (p > 0.05) (Table 1)
Table 1 Thai herbal formulations used for the treatment of chronic insomnia
Thai herbal formulations Total (n = 50) p-value
n %
Ya-Hom-Tep-Pa-Jit 16 32.0 0.571
Cannabis oil (Deja Formula) 20 40.0
Suk-Sai-Yad 14 28.0
ส่วนที่ 3 ข้อมูลคุณภาพการนอนหลับย้อนหลัง หลับที่ดีและคะแนนรวมที่มากกว่า 5 คะแนน หมาย
เปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนแบบ ถึง มีคุณภาพการนอนหลับที่ไม่ดีพบว่า กลุ่มตัวอย่าง
บันทึกคุณภาพการนอนหลับของพิตซ์เบิร์ก (The ก่อนการรับประทานต�ารับยาสมุนไพร มีคะแนนเฉลี่ย
Pittsburgh Sleep Quality Index: PSQI) พฤติกรรม คุณภาพการนอนหลับในระดับ 10.06 คะแนน ค่าเบี่ยง
การนอนหลับและสาเหตุการนอนไม่หลับ ก่อนและ เบนมาตรฐาน 2.780 คะแนน ในขณะที่หลังการรับ
หลังการรับประทานต�ารับยาสมุนไพร ยาน�้ามันกัญชา ประทานต�ารับยาสมุนไพรมีคะแนนเฉลี่ยคุณภาพการ
(ต�ารับหมอเดชา) ยาศุขไสยาศน์และยาหอมเทพจิตร นอนหลับดีขึ้นเป็น 5.20 คะแนน ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ติดตามผลการรักษา 1 เดือน หากคะแนนน้อยกว่า เท่ากับ 2.090 คะแนน ซึ่งพบว่ามีความแตกต่างกัน
หรือเท่ากับ 5 คะแนน หมายถึง มีคุณภาพการนอน อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (p < 0.001) (Table 2)