Page 88 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 88

304 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 21  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2566




                         อภิปรำยผล                     พบว่าต�ารับยาหอมเทพจิตรมีฤทธิ์ที่ช่วยท�าให้คุณภาพ
                จากการศึกษาติดตามกลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการ  การนอนหลับดีขึ้น มีการวัดผลโดยใช้แบบสอบถาม

           วินิจฉัยจากแพทย์รหัสวินิจฉัย G470 [โรคนอนไม่  PSQI (Pittsburgh Sleep Quality Index) เป็น
           หลับ (insomnia)] หรือการวินิจฉัยจากแพทย์แผน  ตัววัดผลคุณภาพการนอนหลับ มีผู้เข้าร่วมการวิจัย
           ไทยรหัสวินิจฉัย U7522 (โรคนอนไม่หลับ) ทั้งผู้ป่วย  ทั้งหมด 40 คน สรุปผลการศึกษาพบว่าผลของยา

           ทั้งเพศชายและเพศหญิงที่มาเข้ารับบริการในคลินิก  หอมเทพจิตร ช่วยให้คุณภาพการนอนหลับดีขึ้น โดย
           กัญชาทางการแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลพุนพิน       สังเกตจากคะแนนคุณภาพการนอน (Sleep Quality

           จังหวัดสุราษฎร์ธานี พ.ศ. 2562-2564 จ�านวน 50   Index) ที่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทาง
           ราย พบว่า ต�ารับยาสมุนไพร คือ ยาน�้ามันกัญชา   สถิติที่ระดับ 0.05 สรุปได้จากการศึกษาผลการทดลอง
           (ต�ารับหมอเดชา) ยาศุขไสยาศน์ และยาหอมเทพ    การรับประทานยาไทยต�ารับหอมเทพจิตร ช่วยเพิ่ม

           จิตร มีประสิทธิผลในการช่วยให้นอนหลับไม่แตก  คุณภาพการนอนหลับได้จริงอย่างมีนัยส�าคัญ มีความ
           ต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (p > 0.05) ภาย  ปลอดภัยอีกทั้งมีราคาประหยัด สอดคล้องกับสุวรรณา

                                                                                         [10]
           หลังจากการรับประทานต�ารับยาสมุนไพร ยาน�้ามัน  อรุณพงค์ไพศาล และณัฏฐ์วรัตถ์ อเนกวิทย์  การ
           กัญชา (ต�ารับหมอเดชา) ยาศุขไสยาศน์ และยาหอม  ศึกษาการใช้สารสกัดกัญชาส�าหรับผู้ป่วยที่มีปัญหา
           เทพจิตร ติดตามผลการรักษา 1 เดือน ส่งผลท�าให้  สุขภาพจิต การใช้สารสกัดกัญชามารักษาโรคนอนไม่

           คุณภาพการนอนหลับสูงขึ้นอยู่ในช่วง 5.20 คะแนน   หลับ โดยศึกษาสารสกัดกัญชาที่ส�าคัญ 2 ชนิด ที่น�า
           และคะแนนเฉลี่ยสาเหตุการนอนไม่หลับลดลงเป็น   มาใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ คือ delta-9- tetrahy-
           2.92 คะแนน ซึ่งพบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัย  drocannabinol (THC) ส่วนสารส�าคัญชนิดที่ 2 คือ

           ส�าคัญทางสถิติ (p < 0.001) สอดคล้องกับการศึกษา  cannabidiol (CBD) พบว่า สาร CBD มีประสิทธิผล
                            [2]
           ของณัชชา เต็งเติมวงศ์  ศึกษาประสิทธิผลและความ  ดีกว่า THC ซึ่งมีผลต่อการลด sleep latency แต่ไม่
           ปลอดภัยของต�ารับยาสมุนไพรศุขไสยาศน์ในโรคนอน  ท�าให้คุณภาพการนอนเสียในระยะยาว ฤทธิ์ของสาร

           ไม่หลับเรื้อรัง โดยใช้แบบประเมินคะแนนคุณภาพ  สกัดกัญชาต่อการนอน เกิดจากการจับกับตัวรับ CB1
           การนอนหลับ (Pittsburgh Sleep Quality Index:   ไปมีปฏิสัมพันธ์กับ orexin ซึ่งอยู่ใน hypothalamus

           PSQI) ผลการศึกษาพบว่า มีผู้ป่วยทั้งสิ้น 25 รายเมื่อ  ท�าให้เกิดการนอนหลับ อย่างไรก็ตาม ยังต้องมีการ
           เปรียบเทียบผลการรักษาก่อนและหลัง พบว่ามีความ  ศึกษาอีกมาก เก็บข้อมูลระยะยาวเพื่อเรียนรู้และ
           แตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติทุกครั้ง (p < 0.05)   เข้าใจมากขึ้นเกี่ยวกับประโยชน์และผลกระทบด้าน

           โดยหลังการรักษามีผู้ป่วยที่มีคะแนนคุณภาพการ  ลบที่เกิดขึ้น สอดคล้องกับการศึกษาของ Jennifer
                                                           [3]
           นอนหลับที่ดี (PSQI ≤ 5 คะแนน) ผู้ป่วยร้อยละ 52   et al.  เป็นการศึกษาการรักษาอาการนอนไม่หลับ
           ลดการใช้ยานอนหลับได้ ร้อยละ 32 หยุดการใช้ยา  ด้วยกัญชาทางการแพทย์: ศึกษาประสิทธิภาพของยา
           นอนหลับได้สอดคล้องกับการศึกษาของเสาวลักษณ์   กัญชาเปรียบเทียบกับยาหลอก วัตถุประสงค์ของการ
           กิติยามาตย์  ศึกษาผลของยาไทยต�ารับยาหอมเทพ  ศึกษาเพื่อประเมินความปลอดภัยและประสิทธิผล
                    [4]
           จิตรต่อคุณภาพการนอนในผู้ที่มีภาวะนอนไม่หลับ   ของสารสกัด cannabinoid ใช้ใต้ลิ้นเวลากลางคืนเป็น
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93