Page 82 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 82

298 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 21  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2566




           ไม่หลับเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยที่สุด การนอนหลับ     จากการศึกษาข้อมูลด้านเวชระเบียนและฐาน
           เป็นกิจกรรมหนึ่งของการพักผ่อน เพื่อให้เกิดความ  ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ย้อนหลัง ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย

           สงบผ่อนคลายปราศจากความเครียดและความวิตก     ประวัติการใช้ต�ารับยาศุขไสยาศน์ หรือน�้ามันกัญชา
           กังวล ดังนั้นการนอนหลับจึงเป็นความต้องการขั้น   (ต�ารับหมอเดชา) หรือยาหอมเทพจิตรในกลุ่มโรค
           พื้นฐานของมนุษย์ และมนุษย์จ�าเป็นต้องใช้เวลา 1 ใน   หรืออาการนอนไม่หลับแบบบันทึกคุณภาพการนอน

           3 ของเวลาทั้งหมดในการนอนหลับจึงจะเพียงพอกับ  หลับ (The Pittsburgh Sleep Quality Index:
           ความต้องการอยู่ประมาณ 6-8 ชั่วโมงต่อวัน ซึ่งพบว่า   PSQI) แบบบันทึกระดับความเครียด (ST- 5) และ
           คนที่นอนหลับน้อยกว่า 6 ชั่วโมงต่อวันจะมีความเสี่ยง  แบบบันทึกคัดกรองความเสี่ยงโรคซึมเศร้า (2Q) ของ

           ในการเกิดภาวะผิดปกติต่าง ๆ มากกว่าคนที่นอนหลับ  โรงพยาบาลพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ซึ่งเปิดให้
           ปกติ เช่น ภาวะอ้วนลงพุง น�้าตาลในเลือดสูง ไขมัน  บริการดูแลประชากรในเขตพื้นที่ 23 ชุมชน 6 หมู่บ้าน
           ประเภท LDL และไตรกลีเซอไรด์สูง ความดันโลหิต  ครอบคลุมประชากร ประมาณ 25,000-26,000 คน [5]

           สูง เป็นต้น โดยจะมีความเสี่ยงสูงขึ้นร้อยละ 6-12 [1]  พบว่า พ.ศ. 2562 มีผู้ป่วยที่แพทย์หรือแพทย์แผน
                กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมการแพทย์แผน     ไทยให้การวินิจฉัยด้วยโรคนอนไม่หลับ จ�านวน 710

           ไทยและการแพทย์ทางเลือก มีนโยบายการใช้ต�ารับยา  ราย ได้รับการรักษาด้วยต�ารับยาสมุนไพร 10 ราย
           สมุนไพรไทยที่มีกัญชาปรุงผสมมาใช้ในระบบบริการ  คิดเป็นร้อยละ 1.41 พ.ศ. 2563 มีจ�านวนผู้ป่วย 623
           สาธารณสุข ตั้งแต่ พ.ศ. 2562 โดยได้คัดเลือกต�ารับ  ราย ได้รับการรักษาด้วยต�ารับยาสมุนไพร 12 ราย

           ยาสมุนไพรไทยเข้ากัญชา จ�านวนทั้งสิ้น 16 ต�ารับเพื่อ  คิดเป็นร้อยละ 1.92 และพ.ศ. 2564 มีจ�านวนผู้ป่วย
           ใช้ในระบบบริการซึ่งหนึ่งในนั้น คือ ต�ารับยาศุขไส-   643 ราย ได้รับต�ารับยาสมุนไพร 71 ราย คิดเป็น

                [2]
           ยาศน์  และต�ารับยาน�้ามันกัญชา (ต�ารับหมอเดชา)   ร้อยละ 11.04 มีแนวโน้มในการใช้ต�ารับยาศุขไสยาศน์
           ที่มีสรรพคุณช่วยให้นอนหลับ  โรงพยาบาลพุนพิน  น�้ามันกัญชา (ต�ารับหมอเดชา) และยาหอมเทพจิตรใน
                                  [3]
           ได้มีการจัดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผน  การรักษาโรคนอนไม่หลับเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตามการ

           ไทยให้สอดคล้องกับนโยบายดังกล่าว ตั้งแต่ พ.ศ.   นอนไม่หลับยังคงเป็นปัญหาสุขภาพที่มักพบได้บ่อย
           2563 มีการใช้ต�ารับยาศุขไสยาศน์และต�ารับยาน�้ามัน  การนอนหลับที่ไม่เพียงพอและไม่มีคุณภาพมีความ
           กัญชา (ต�ารับหมอเดชา) ในกลุ่มผู้ป่วยโรคนอนไม่  สัมพันธ์กับสุขภาพทางกายที่ไม่แข็งแรง อ่อนล้า ง่วง

           หลับที่มารับบริการในคลินิกกัญชาทางการแพทย์  นอนตอนกลางวัน ภูมิคุ้มกันลดลง และมีผลกระทบ
           แผนไทย โดยก่อนที่จะมีการใช้ต�ารับยาศุขไสยาศน์  ต่อสุขภาพจิตมีความสัมพันธ์ด้านลบกับการเข้าสังคม
           และต�ารับยาน�้ามันกัญชา (ต�ารับหมอเดชา) ในระบบ  ความสามารถในการจัดการปัญหา การตอบสนองที่

           บริการสาธารณสุขนั้น โรงพยาบาลพุนพินได้มีการจ่าย  ช้าลงความจ�าลดลง หงุดหงิดง่าย ขาดสมาธิอาจเป็น
           ยาหอมเทพจิตรในกลุ่มผู้ป่วยโรคนอนไม่หลับ ซึ่งยา  ปัญหาต่อการท�างาน [6]

           หอมเทพจิตรมีสรรพคุณช่วยให้นอนหลับ  ประกอบ       ดังนั้น ข้อค้นพบที่ส�าคัญจากข้อมูลเวชระเบียน
                                           [4]
           ด้วยดอกไม้หลายชนิดท�าให้การเดินของลมสม�่าเสมอ  และฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ พบว่าผู้ป่วยที่มาเข้า
           ส่งผลท�าให้นอนหลับได้ดี                     รับบริการในคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทย
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87