Page 70 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 70
286 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2566
กำรวิเครำะห์ข้อมูล ข้อมูลพื้นฐ�น
การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างใช้ ผู้เข้าร่วมวิจัยกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม
สถิติเชิงพรรณนา โดยวิธีแจกแจงความถี่และร้อย มีอายุเฉลี่ย 58.03 ± 9.09 และ 52.15 ± 7.49 ปี ตาม
ละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติเชิง ล�าดับ ส่วนใหญ่เป็นเพศชายร้อยละ 78.12 และ 84.62
อนุมานเพื่อเปรียบเทียบผลการรักษาระหว่างกลุ่ม ตามล�าดับ ดัชนีมวลกายที่ 22.07 ± 4.27 และ 22.57
เช่น t-test, Chi-square test หรือ Fisher’s exact ± 2.81 กก./ตร.ม. ส่วนใหญ่ไม่มีประวัติการเป็นโรค
test, Generalized Estimating Equations (GEE) ตับร้อยละ 56.25 และ 76.92 ตามล�าดับ ผู้เข้าร่วมวิจัย
หรือ Multi-level model (Mixed model) ส่วน กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมส่วนใหญ่มีประวัติการ
การวิเคราะห์ Median survival time ระหว่างกลุ่ม ดื่มแอลกอฮอล์ ร้อยละ 81.25 และ 69.23 ตามล�าดับ
ทดลองที่ได้รับสารสกัดต�ารับยาเบญจอ�ามฤตย์รูป เมื่อเปรียบเทียบข้อมูลทั่วไป สัญญาณชีพ และผล
แบบแคปซูลและกลุ่มควบคุมที่ได้รับยาหลอก ใช้การ ทางห้องปฏิบัติการของผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งสองกลุ่ม พบ
วิเคราะห์ระยะปลอดเหตุการณ์ (survival analysis) ว่า ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ
และ Kaplan-Meier method และใช้สถิติ log-rank (p-value > 0.05) (Table 2)
test ในการเปรียบเทียบความแตกต่างของอัตราการ ลักษณะทางคลินิกพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับโรค
รอดชีวิตในผู้ป่วยโรคมะเร็งทั้ง 2 กลุ่ม และใช้สถิติ มะเร็งตับระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม เมื่อ
Cox proportional hazard model เพื่อหาโอกาสของ จ�าแนกตามอาการแสดงส�าคัญ สภาวะของผู้ป่วย
การรอดชีวิตของกลุ่มทดลองเทียบกับกลุ่มควบคุม [Eastern Cooperative Oncology Group (ECOG)
โดยน�าเสนอค่า hazard ratio (HR) และช่วงเชื่อมั่น score] ขนาดเนื้องอกตาม RECIST Criteria และ
ที่ 95% โดยก�าหนดระดับนัยส�าคัญที่ p-value < 0.05 การเปลี่ยนแปลงของระดับ AFP พบว่า ส่วนใหญ่มี
วิเคราะห์ข้อมูลแบบ intention to treat การวิเคราะห์ อาการท้องอืดร้อยละ 56.25 และ 61.54 ตามล�าดับ
ข้อมูลทั้งหมดใช้โปรแกรม STATA version 14.0 มีระดับ VAS ที่ 2.59 ± 2.78 และ 2.23 ± 0.55 ตาม
ล�าดับ ขนาดเนื้องอก ส่วนใหญ่มีขนาดใหญ่มากกว่า
ผลก�รศึกษ� หรือเท่ากับ 5 ซม. ร้อยละ 50.00 และ 76.92 ตามล�าดับ
การศึกษาครั้งนี้มีผู้ป่วยโรคมะเร็งเซลล์ตับที่ สารบ่งชี้มะเร็ง ทั้งสองกลุ่มมีระดับ AFP มากกว่า
ร่วมโครงการ ทั้งหมด 81 ราย ถูกสุ่มแบ่งออกเป็นสอง หรือเท่ากับ 400 ร้อยละ 46.88 และ 38.46 ตามล�าดับ
กลุ่ม คือ กลุ่มทดลองที่ได้รับแคปซูลสารสกัดต�ารับยา สภาวะของผู้ป่วย (ECOG score) กลุ่มทดลองส่วน
เบญจอ�ามฤตย์ จ�านวน 54 ราย กลุ่มควบคุมที่ได้รับ ใหญ่อยู่ในระดับ 1 (ผู้ป่วยปฏิบัติกิจกรรมได้ตาม
ยาหลอก จ�านวน 27 ราย เมื่อสิ้นสุดการศึกษามีผู้ป่วย ปกติ มีอาการแสดงของโรคเล็กน้อย) ร้อยละ 56.25
โรคมะเร็งเซลล์ตับที่สามารถติดตามผลการรักษาได้ กลุ่มควบคุมส่วนใหญ่อยู่ในระดับ 0 (ผู้ป่วยสามารถ
จ�านวนทั้งสิ้น 45 ราย โดยอยู่ในกลุ่มทดลอง จ�านวน ปฏิบัติงานได้ตามปกติ ไม่มีอาการของโรค) ร้อยละ
32 รายและกลุ่มควบคุม จ�านวน 13 ราย 69.23 เมื่อเปรียบเทียบลักษณะทางคลินิกพื้นฐานที่
เกี่ยวข้องกับโรคมะเร็งตับของผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งสอง