Page 74 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 74
290 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2566
อัตร�ก�รรอดชีวิต (survival rate) ทดลองและกลุ่มควบคุมมีอัตราเสี่ยงต่อการเสียชีวิต
เมื่อเปรียบเทียบ Kaplan–Meier survival ไม่แตกต่างกัน (crude HR = 0.67,95%CI: 0.34-1.31)
curve ระหว่างสองกลุ่ม (Figure 2) พบว่า กลุ่ม ขณะที่เมื่อควบคุมปัจจัย เพศ อายุ ขนาดของเนื้องอก
ทดลองมีระยะเวลาที่ยังมีผู้ป่วยรอดชีวิตอยู่ร้อยละ อาการแสดงส�าคัญ และระดับ AFP พบว่า ผู้ป่วยโรค
50 (median survival time) เท่ากับ 93 วัน ซึ่งน้อย มะเร็งเซลล์ตับกลุ่มทดลองมีอัตราเสี่ยงต่อการเสีย
กว่ากลุ่มควบคุมที่มีระยะเวลาที่ยังมีผู้ป่วยรอดชีวิต ชีวิตของโรคมะเร็งตับเป็น 0.25 เท่า เมื่อเทียบกับกลุ่ม
อยู่ร้อยละ 50 เท่ากับ 103 วัน แต่แนวโน้มอัตราการ ควบคุม (adjusted HR = 0.25, 95%CI: 0.06-0.97,
รอดชีวิต (survival rate) ตลอดช่วงเวลาการศึกษา p-value = 0.046) กล่าวคือ การได้รับสารสกัดต�ารับ
ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมนั้นไม่แตกต่าง ยาเบญจอ�ามฤตย์อาจเป็นปัจจัยป้องการเสียชีวิต
กัน (p-value = 0.24) เมื่อศึกษาถึงปัจจัยต่าง ๆ เช่น ปัจจัยเพศ อายุ
เมื่อติดตามระยะเวลา 12 เดือน ผู้เข้าร่วมวิจัย ขนาดของเนื้องอก ระดับ AFP อาการแสดงส�าคัญ
ทั้งหมด 9,171 คน-วัน (person-time) พบว่ามีผู้ป่วย ที่อาจส่งผลต่ออัตราเสี่ยงต่อการเสียชีวิตของผู้ป่วย
โรคมะเร็งตับเสียชีวิตรวม 40 คน (ร้อยละ 88.89) โดย โรคมะเร็งเซลล์ตับ พบว่า เมื่อควบคุมปัจจัยวิธีการ
เป็นกลุ่มควบคุม จ�านวน 13 คน (ร้อยละ 100.00) รักษา อายุ ขนาดของเนื้องอก ระดับ AFP อาการแสดง
เป็นกลุ่มทดลอง 27 คน (ร้อยละ 84.38) และมีผู้ป่วย ส�าคัญ พบว่า ผู้ป่วยที่มีอาการท้องอืดมีอัตราเสี่ยงต่อ
โรคมะเร็งเซลล์ตับในกลุ่มทดลองไม่เสียชีวิตเมื่อสิ้น การเสียชีวิตของโรคมะเร็งตับเป็น 3.54 เท่าเมื่อเทียบ
สุดการศึกษาจ�านวน 5 คน จากการวิเคราะห์ Cox กับผู้ป่วยที่ไม่มีอาการท้องอืด (95%CI: 1.07-11.71)
regression พบว่า ผู้ป่วยโรคมะเร็งเซลล์ตับกลุ่ม (Table 4)
Figure 2 Kaplan-Meier survival curve in intervention and control groups (Log-rank test, p-value = 0.24)