Page 72 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 72

288 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 21  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2566




            Table 2  (cont.) Baseline characteristics of intervention and control groups (n = 45)

            Variables                                  Control group   Intervention group   p-values
                                                         (n = 13)         (n = 32)

            Excretion, n (%)
              every day                                 12 (92.31)      30 (93.75)      0.34 †
            Sleep, n (%)
              normal                                    11 (84.62)      19 (59.38)      0.16 †
            ECOG score, n (%)
              0
              1                                         9 (69.23)
            4 (30.77)                                   14 (43.75)
            18 (56.25)                                    0.19 †
            Tumur size (cm) (Tumor-related indicators), n (%)
              < 5                                       2 (15.38)       9 (28.12)       0.28 †
              ≥ 5                                       26 (57.78)      10 (76.92)
            AFP (ng/ml), n (%)
              < 400                                     4 (30.77)       9 (28.12)       0.91 †
              ≥ 400                                     20 (44.44)      5 (38.46)

            † Chi-square test หรือ Fisher’s exact test,  Mann Whitney U Test
                                         ‡
            SD = standard deviation; ALT = alanine aminotransferase; AST = aspartate aminotransferase;  ALP = alkaline phosphatase;
            eGFR = Esttimated Glomerrular Filtration Rate. ECOG = Zubrod-ECOG-WHO performance status;  AFP = alpha-fetoprotein.





           ประสิทธิผลและคว�มปลอดภัยของส�รสกัด          และกลุ่มควบคุมแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทาง
           ตำ�รับย�เบญจอำ�มฤตย์ต่ออ�ก�รแสดงท�ง         สถิติ (p = 0.04) และขนาดเนื้องอกกลุ่มทดลองและ

           คลินิกและผลท�งห้องปฏิบัติก�รที่เกี่ยวข้องกับ  กลุ่มควบคุมแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ
           โรคมะเร็งตับ                                (p = 0.02) อาการแสดงส�าคัญ อาทิ อาการท้องอืด

                เมื่อประเมินผลการตอบสนองของผู้ป่วยโรค  แน่นท้อง อาการเบื่ออาหาร อาการอ่อนเพลีย การขับ
           มะเร็งเซลล์ตับต่อสารสกัดต�ารับยาเบญจอ�ามฤตย์  ถ่าย การนอนหลับ ไม่แตกต่างกัน รวมถึงระดับ AFP
           ด้วยการประเมิน อาการแสดงส�าคัญ สภาวะของผู้ป่วย   ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมไม่แตกต่างกัน

           (ECOG score) ขนาดเนื้องอกตาม RECIST criteria   (p = 0.16) อย่างไรก็ตามระดับ AFP ซึ่งเป็นสารบ่งชี้
           และการเปลี่ยนแปลงของระดับ AFP เปรียบเทียบ   มะเร็งของกลุ่มทดลองมีแนวโน้มลดลง (Table 3)
           ระหว่างผู้ป่วยมะเร็งเซลล์ตับทั้งสองกลุ่ม หลังเข้า  ด้านการประเมินความปลอดภัยของสารสกัดต�ารับยา

           ร่วมการวิจัยในวันที่ 28, 56, 84, 112 และ 140 พบ  เบญจอ�ามฤตย์ ไม่พบรายงานอาการไม่พึงประสงค์ที่
           ว่า สภาวะของผู้ป่วย (ECOG score) กลุ่มทดลอง  รุนแรง (serious AE)
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77