Page 66 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 66
282 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2566
[6]
รวมถึงกลิ่นอุจจาระ อัตราการรอดชีวิต (survival rate) และประเมิน
ต�ารับยาเบญจอ�ามฤตย์เป็นยาตามองค์ความรู้ ประสิทธิผล ความปลอดภัย และคุณภาพชีวิตของ
ดั้งเดิมของประเทศไทย ที่มีการบันทึกและระบุหลัก ผู้ป่วยมะเร็งเซลล์ตับที่ได้รับสารสกัดต�ารับยา
ฐานไว้ในต�าราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์จากหลักฐาน เบญจอ�ามฤตย์เปรียบเทียบกับผู้ป่วยมะเร็งเซลล์ตับ
ตัวอักษรปรากฏชื่อยาเบญจอ�ามฤตย์อยู่ใน 2 คัมภีร์คือ ที่ได้รับยาหลอก ซึ่งข้อมูลที่ได้จากการศึกษาจะน�าไป
คัมภีร์ธาตุบรรจบและคัมภีร์ปฐมจินดามีส่วนประกอบ สู่การพัฒนาเป็นยาและผลิตภัณฑ์เพื่อใช้ในการรักษา
ของสมุนไพร 9 ชนิด คือ มหาหิงคุ์ รงทอง ยาด�าบริสุทธิ์ โรคมะเร็งเซลล์ตับของประเทศต่อไป
มะกรูด ดีปลี พริกไทย ขิง รากทนดี และดีเกลือ [7-8]
เบญจอ�ามฤตย์เป็นยารุ ข้อบ่งใช้ตามต�าราเดิมระบุว่า ระเบียบวิธีศึกษ�
ใช้ฟอกอุจจาระให้สิ้นโทษ สรรพคุณยาเบญจอ�ามฤตย์ การศึกษาครั้งนี้ เป็นการศึกษาวิจัยทางคลินิก
ที่ว่าช�าระเสียให้สิ้นนั้นเป็นการเอาพิษออกจากตับ [9] แบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม ปกปิดทั้งผู้ป่วยและ
ปัจจุบันต�ารับยาเบญจอ�ามฤตย์ถูกน�าไปใช้ในโรง- ผู้ให้การรักษา (double-blinded, randomized
พยาบาลด้านการแพทย์แผนไทยหลายแห่งทั่วประเทศ [10] controlled trial) เปรียบเทียบอัตราการรอดชีวิต
ในปี พ.ศ. 2558 มีรายงานการรักษาผู้ป่วยด้วยยา ประสิทธิผล และความปลอดภัยของผู้ป่วยมะเร็ง
เบญจอ�ามฤตย์ของโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทย เซลล์ตับที่ได้รับสารสกัดต�ารับยาเบญจอ�ามฤตย์และ
และการแพทย์ผสมผสานในผู้ป่วยจ�านวน 98 ราย พบ ยาหลอก ในโรงพยาบาล 3 แห่งคือ โรงพยาบาลมะเร็ง
ว่า ผู้ป่วยร้อยละ 21.4 มีชีวิตอยู่ได้มากกว่า 9 เดือน อุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี, โรงพยาบาลยโสธร
โดยในการศึกษาไม่ได้ควบคุมปัจจัยที่มีผลกระทบ จังหวัดยโสธร และ โรงพยาบาลชีวามิตรา จังหวัด
ต่อการมีชีวิตที่ยาว มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และไม่พบ อุบลราชธานี ด�าเนินการศึกษาวิจัยระหว่างเดือน
[11]
รายงานอาการไม่พึงประสงค์ที่รุนแรง นอกจากนี้ยัง กรกฎาคม 2560-มกราคม 2565 โดยการศึกษาครั้งนี้
มีรายงานติดตามผลการรักษาโรคมะเร็งเซลล์ตับโดย ได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการพิจารณาการศึกษา
การใช้ยาเบญจอ�ามฤตย์ตามศาสตร์การแพทย์แผน วิจัยในคนด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทาง
ไทยในโรงพยาบาลของรัฐ 6 แห่งทั่วประเทศจ�านวน 89 เลือก กระทรวงสาธารณสุข เลขที่ 01-2560
ราย พบว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่ที่มาติดตามการรักษาอย่าง
ต่อเนื่อง มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นคือ มีความสุขสบายขึ้น 1. วัสดุ
อาการอืดแน่นท้อง และอาการท้องผูกลดลง ผู้ป่วย 1.1 ต�ำรับยำที่ใช้ในกำรศึกษำ
สามารถรับประทานอาหาร รวมทั้งนอนหลับได้ดีขึ้น ต�ารับยาที่ใช้ในการศึกษานี้คือ ต�ารับยา
และไม่พบอาการไม่พึงประสงค์ที่รุนแรงในผู้ป่วยทุก เบญจอ�ามฤตย์ประกอบด้วยสมุนไพรและธาตุวัตถุ 9
[12]
ราย อย่างไรก็ตามยังไม่มีการศึกษาวิจัยที่เป็นการ ชนิด คือ ขิงแห้ง ดีปลี พริกไทยด�า มะกรูด รากทนดี
ทดลองทางคลินิกแบบมีกลุ่มควบคุมเปรียบเทียบ ดีเกลือ ยาด�า รงทอง และมหาหิงคุ์ ในรูปแบบแคปซูล
ดังนั้นการศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา สารสกัดต�ารับยาเบญจอ�ามฤตย์ด้วยเทคนิค freeze