Page 200 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 200

416 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 21  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2566




                    บทนำ�และวัตถุประสงค์               หลวง (รัชกาลที่ 5) ต�าราเวชศึกษาของพระยาพิศณุ
                กระท่อม มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Mitragyna   ประสาทเวช (รัชกาลที่ 5) ต�ารายาแพทย์ต�าบลของ

           speciosa (Korth.) Havil. จัดอยู่ในวงศ์เข็มและ  พระยาแพทย์พงศาวิสุทธาธิบดี (แพทย์หลวงประจ�า
           กาแฟ Rubiaceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ใบสี   พระองค์ในรัชกาลที่ 6) และคัมภีร์แพทย์ไทยแผน
           เขียว ล�าต้นจะมีความใหญ่สูงประมาณ 10–15 เมตร   โบราณของขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เป็นต้น [2]

           มีถิ่นก�าเนิดในเขตร้อนชื้นแถบเอเชียตะวันออกเฉียง     การศึกษาทางเภสัชวิทยาพบว่า สารที่พบใน
           ใต้ โดยเฉพาะประเทศไทย มลายู จนถึงเกาะนิวกินี   กระท่อมมากที่สุดเป็นสารกลุ่มอัลคาลอยด์ (alka-

           เติบโตได้ดีในที่ชุ่มชื้น ความชื้นสูง ดินอุดมสมบูรณ์   loids) ซึ่งเป็นสารที่มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาในหลาย
           และมีแสงแดดปานกลาง กระท่อมในประเทศไทย       ระบบและถูกน�ามาใช้ในการรักษาโรคอย่างกว้างขวาง
           มีอยู่อย่างน้อย 3 สายพันธุ์ เช่น พันธุ์แตงกวา พันธุ์  สารส�าคัญที่พบคือสาร mitragynine ซึ่งพบเฉพาะใน

                                                                      [3]
           ยักษาใหญ่ และพันธุ์ก้านแดง เป็นต้น พบมากในป่า  พืชกระท่อมเท่านั้น  รายงานผลการศึกษาฤทธิ์ทาง
           ธรรมชาติบริเวณภาคใต้ เช่น จังหวัดสุราษฎร์ธานี   เภสัชวิทยาพบว่าสาร mitragynine มีคุณสมบัติลด

           จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดตรัง จังหวัดสตูล   การปวด (analgesic) แก้ไอ (antitussive) บรรเทา
           จังหวัดพัทลุง จังหวัดสงขลา จังหวัดยะลา จังหวัด  อาการท้องร่วง (antidiarrheal) มีฤทธิ์ต้านมาลาเรีย
                                                                  [4-7]
           ปัตตานี จังหวัดนราธิวาส และยังพบในบางจังหวัด  (antimalarial)  และมีฤทธิ์ต้านการซึมเศร้า (anti-
           ของภาคกลาง เช่น จังหวัดปทุมธานี มีชื่อเรียกแตก  depressant effect)
                                                                       [4-9]
           ต่างกันไปในแต่ละพื้นที่ เช่น อีด่าง อีแดง กระอ่วม      ประเทศอินโดนีเซียเป็นผู้เพาะปลูกและส่งออก
           ท่อม เป็นต้น [1-2]                          กระท่อมรายใหญ่ที่สุดของโลก มีสัดส่วนการส่งออก

                ต�ารายาไทยใช้ใบกระท่อม แก้บิดปวดมวน ปวด  ร้อยละ 95 ของปริมาณการส่งออกทั่วโลก ส่วนที่เหลือ
           เบ่ง แก้ปวด แก้ท้องเสีย แก้ท้องร่วง แก้ปวดเมื่อย  ส่งออกจากมาเลเซีย ไทย และเวียดนาม โดยมีประเทศ
           ตามร่างกาย และระงับประสาท โดยใช้ใบสดหรือใบ  สหรัฐอเมริกา เป็นตลาดผู้บริโภคสินค้าจากกระท่อมที่

           แห้งน�ามาเคี้ยว สูบ หรือชงเป็นน�้าชา กลุ่มผู้ใช้แรงงาน  ใหญ่ที่สุดในโลก คิดเป็นมูลค่าตลาดประมาณ 30,000
           และเกษตรกรบริโภคใบกระท่อมเพื่อกดความรู้สึก  ล้านบาทต่อปี คาดว่ามีผู้ใช้ผลิตภัณฑ์จากกระท่อม

           เหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้า ท�าให้ท�างานได้ยาวนานขึ้น กรม  ประมาณ 10–16 ล้านคน [10]
           การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวง       ประเทศไทยได้มีการยกเลิกการก�าหนดให้
           สาธารณสุข ได้รวบรวมต�ารับยาแพทย์แผนโบราณที่ใช้  กระท่อมเป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ประชาชน

           พืชกระท่อมได้จ�านวน 18 ต�ารับทั้งหมดเป็นคัมภีร์ยา  จึงสามารถครอบครอง บริโภค และใช้ประโยชน์จาก
           หลวงทั้งสิ้น เช่น ต�าราพระโอสถพระนารายณ์ ต�ารายา  กระท่อมได้ ประกอบกับกระท่อมเป็นพืชที่มีมูลค่า

           โรงพระโอสถ (สมัยรัชกาลที่ 2) ต�ารายาศิลาจารึกวัด  ในทางเศรษฐกิจ จึงสมควรส่งเสริมให้มีการพัฒนา
           โพธิ์ (รัชกาลที่ 3) ต�าราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ (รัชกาล  พืชกระท่อม ให้เป็นพืชที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ โดย
           ที่ 5) ต�ารายาพระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์เจ้ากรมหมอ  ตามพระราชบัญญัติ พืชกระท่อม พ.ศ. 2565 ก�าหนด
   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205