Page 202 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 202

418 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 21  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2566




                1.4  ตัวอย่างใบกระท่อม                 ของสาร mitragynine ความสามารถในการแยก im-
                   ตัวอย่างวัตถุดิบใบกระท่อมสดจ�านวน 17   purity จาก peak ของสาร mitragynine ในสารสกัด

           แหล่งตัวอย่าง แบ่งเป็นจากภาคใต้จ�านวน 7 แหล่ง  ใบกระท่อม และความดันของระบบโครมาโทกราฟี
           ตัวอย่าง โดยได้จากจังหวัดชุมพรจ�านวน 4 แหล่ง        2) การศึกษาความยาวคลื่นที่ใช้ในการ
           ตัวอย่าง จังหวัดตรังจ�านวน 2 แหล่งตัวอย่าง และ  ตรวจวิเคราะห์

           จังหวัดกระบี่จ�านวน 1 แหล่งตัวอย่าง และจากภาค          วิเคราะห์สารละลายมาตรฐาน mitragy-
           กลางจ�านวน 10 แหล่งตัวอย่าง โดยได้จากจังหวัด  nine และสารสกัดใบกระท่อมด้วยเครื่อง UHPLC วัด
           นนทบุรี จ�านวน 4 แหล่งตัวอย่าง จังหวัดปทุมธานี  การดูดกลืนแสง UV ของสารละลายมาตรฐาน mi-

           จ�านวน 3 แหล่งตัวอย่าง และ กรุงเทพมหานคร    tragynine เพื่อดูความยาวคลื่นที่สาร mitragynine
           จังหวัดอยุธยา และจังหวัดนครปฐม จังหวัดละ 1   สามารถดูดกลืนแสงสูงสุด (λmax) และวิเคราะห์
           แหล่งตัวอย่าง เก็บในช่วงระหว่างเดือนพฤศจิกายน   สารสกัดใบกระท่อมโดยใช้ diode array detector

           2564 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2565 ผ่านการตรวจระบุชื่อ  (DAD) เพื่อเลือกความยาวคลื่นส�าหรับการตรวจวัด
           ชนิด (plant identification) ของพรรณไม้ตามหลัก  mitragynine ที่เหมาะสมและไม่มีการซ้อนทับของ

           อนุกรมวิธานพืช โดยนักพฤกษศาสตร์เปรียบเทียบกับ  peak (co-elute)
           ตัวอย่างพรรณไม้แห้งหมายเลขอ้างอิง DMSC 5290         3) การศึกษาชนิดของตัวท�าละลายที่ใช้ใน
           ว่าเป็นใบกระท่อม Mitragyna speciosa (Korth.)   การสกัด

           Havil.                                               วิเคราะห์ผลของการสกัดใบกระท่อม
                                                       โดยวิธี reflux ด้วยตัวท�าละลาย ethanol เปรียบเทียบ
           2. วิธีดำ�เนินก�ร                           กับการสกัดด้วยตัวท�าละลาย methanol แล้วน�าสาร

                2.1  การพัฒนาวิธีวิเคราะห์ปริมาณ mitragy-  สกัดที่ได้มาวิเคราะห์ด้วยเครื่อง UHPLC ตัวอย่าง
           nine ในใบกระท่อม                            ละ 2 ซ�้า เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการสกัด

                   1) การศึกษาวัฏภาคคงที่ (stationary   สาร mitragynine จากใบกระท่อมของตัวท�าละลาย
           phase) และวัฏภาคเคลื่อนที่ (mobile phase)   ethanol กับ methanol
                     วิเคราะห์สารละลายมาตรฐาน mitragy-        4) การศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมในการ

           nine และสารสกัดใบกระท่อมด้วยเครื่อง UHPLC   สกัด
           เปรียบเทียบผลของคอลัมน์ที่แตกต่างกัน ได้แก่ชนิด          วิเคราะห์ผลของการสกัดใบกระท่อม
           อนุภาคภายในคอลัมน์ (ARC-18 และ ARC-8) ความ  โดยวิธี reflux ด้วยตัวท�าละลาย ethanol ที่เวลา 30

           ยาวคอลัมน์ (150 และ 100 มิลลิเมตร) โดยพิจารณา  นาที 45 นาที และ 60 นาที แล้วน�าสารสกัดใบกระท่อม
           เลือกคอลัมน์จากลักษณะของ peak shape peak    ที่ได้มาวิเคราะห์ด้วยเครื่อง UHPLC เพื่อเปรียบเทียบ

           symmetry และ retention time                 เวลาที่ใช้ในการสกัดกับปริมาณสาร mitragynine ที่
                   ศึกษาชนิดและสัดส่วนของวัฏภาคเคลื่อนที่   สกัดได้
           โดยพิจารณาจาก peak shape และ retention time         5) การศึกษาหาสภาวะของระบบโครมาโท
   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207