Page 196 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 196
412 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2566
[3]
จะใช้สารละลายทดสอบวานิลลิน-กรดซัลฟูริก เพราะ ด้วยวิธี HPTLC และเปรียบเทียบกับการวิเคราะห์
สารละลายทดสอบนี้สามารถตรวจหาสารกลุ่มไตร ฟริเดลีนในรากกัญชาด้วยวิธี GC-MS/FID พบ
[4]
เทอร์พีนอยด์ (triterpenoid) ได้ และสารฟริเดลีน ว่าการหาปริมาณสารฟริเดลีนด้วยวิธี HPTLC นี้จะ
เป็นสารกลุ่มไตรเทอร์พีนอยด์ด้วย ส่วนผลการ แยกสารฟริเดลีนออกจากกันได้ และไม่มีการรบกวน
ทดสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์ดังกล่าว พบว่า ของสารอื่นในตัวอย่าง แต่ลักษณะของแถบค่อนข้าง
calibration curve ของสารมาตรฐานฟริเดลีนมี กว้างไป วิธีวิเคราะห์ปริมาณฟริเดลีนที่พัฒนาขึ้นมา
ลักษณะเป็นเส้นตรงในช่วงความเข้มข้น 1.07-106.89 ใหม่นั้น มีการแยกองค์ประกอบทางเคมีที่ชัดเจน
ไมโครกรัม/มิลลิลิตร มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ โดยสังเกตได้จากแถบสารฟริเดลีนแยกออกจากกัน
(r) เท่ากับ 0.9990 ค่าร้อยละของการคืนกลับอยู่ ได้ และไม่มีการรบกวนของแถบสารอื่นในตัวอย่าง
ในช่วง 100.57-102.45% LOD และ LOQ เท่ากับ นอกจากนี้ลักษณะของแถบสารฟริเดลีนที่แยกจะ
ร้อยละ 0.006 และ 0.021 โดยน�้าหนักแห้งของราก แคบกว่า ท�าให้การวิเคราะห์ด้วยวิธีนี้ให้ความถูกต้อง
กัญชา (ไมโครกรัม/ไมโครกรัม) ตามล�าดับ ปริมาณ แม่นย�ากว่า ส่วนการวิเคราะห์สารฟริเดลีนในสารสกัด
สารฟริเดลีนในตัวอย่างวัตถุดิบรากกัญชา CANR1, รากกัญชาด้วยวิธี GC-MS/FID นั้น ต้องใช้วัฏภาค
CANR2, CANW1 และ CANW2 มีค่าเฉลี่ยร้อยละ เคลื่อนที่ คือ แก๊สตัวพา (carrier gas) และวัฏภาค
0.025 โดยน�้าหนักแห้งของรากกัญชา (ไมโครกรัม/ ที่อยู่กับที่ คือ column ที่มีราคาแพง ท�าให้ต้องเสีย
ไมโครกรัม) วิธีเดนซิโทเมทรีโครมาโทกราฟีผิวบางที่ ค่าใช้จ่ายสูงในการตรวจวิเคราะห์ ส่วนวิธีวิเคราะห์ที่
มีการพัฒนาเพื่อให้มีประสิทธิภาพการแยกสาร ความ พัฒนาขึ้นมาใหม่ ประหยัดวัฏภาคเคลื่อนที่ และวัฏ
ไวในการแยกสารที่ดีขึ้น ใช้วัฏภาคเคลื่อนที่น้อยลง ไม่ ภาคที่อยู่กับที่ ที่ใช้คือแผ่น HPTLC ซึ่งมีราคาถูกกว่า
ยุ่งยากในการตรวจวิเคราะห์ จากการศึกษานี้ เมื่อเพิ่ม เมื่อเทียบกับคอลัมน์ของวิธี GC-MS/FID ดังนั้นจึง
ปริมาณของสารละลายตัวอย่างรากกัญชาที่หยดลง เลือกใช้เครื่องเดนซิโทมิเตอร์โครมาโทกราฟีผิวบาง ใน
ไปบนแผ่นโครมาโทกราฟีผิวบางให้มากขึ้น หลังจาก การพัฒนาวิธีวิเคราะห์ปริมาณฟริเดลีนในรากกัญชา
พ่นด้วยสารละลายทดสอบวานิลลิน-กรดซัลฟูริก ให้ จากการทดสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์ปริมาณ
ความร้อน 110˚ซ นาน 5 นาที แล้วตรวจสอบภายใต้ ฟริเดลีนที่พัฒนาขึ้น พบว่าร้อยละของการคืนกลับจาก
แสงสีขาว พบว่าแถบสารที่ปรากฏยังแสดงสีไม่ชัดเจน การวิเคราะห์ spiked sample อยู่ในเกณฑ์ยอมรับ
การศึกษานี้จึงตรวจสอบภายใต้แสงอัลตราไวโอเลต (95-105%) ซึ่งแสดงถึงความแม่นของวิธีวิเคราะห์ที่
ที่ความยาวคลื่น 366 นาโนเมตร และน�ามาอ่านแผ่น พัฒนาขึ้น วิธีดังกล่าวจึงมีความเหมาะสม สามารถน�า
ด้วยเครื่องตรวจอ่านแผ่นโครมาโทกราฟีผิวบาง เพื่อ ไปใช้ในการวิเคราะห์ปริมาณฟริเดลีน เพื่อการควบคุม
น�าค่าพื้นที่ใต้พีคมาใช้ในการเปรียบเทียบและการ คุณภาพของวัตถุดิบรากกัญชาต่อไปได้
ค�านวณ เมื่อน�าวิธีวิเคราะห์ปริมาณฟริเดลีนในราก
กัญชาด้วยวิธีเดนซิโทเมทรีโครมาโทกราฟีผิวบางที่ ข้อสรุป
พัฒนาขึ้นมาใหม่เปรียบเทียบกับการหาปริมาณสาร การศึกษานี้ได้พัฒนาวิธีการตรวจวิเคราะห์
ฟริเดลีนในสารสกัดและต�ารับยาสมุนไพรมะค่าไก่ ปริมาณฟริเดลีนในรากกัญชาด้วยวิธีเดนซิโทเมทรี-