Page 195 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 195

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 21  No. 2  May-Aug  2023  411




            3. กำรวิเครำะห์ปริมำณฟริเดลีนเป็นร้อยละโดย  CANW2 พบว่าปริมาณฟริเดลีน มีค่าเฉลี่ยร้อยละ
               น�้ำหนักแห้งของรำกกัญชำ                  0.025 โดยน�้าหนักแห้งของรากกัญชา (ไมโครกรัม/

                 ผลการวิเคราะห์ปริมาณฟริเดลีนในตัวอย่าง  ไมโครกรัม) (Table 5)
            วัตถุดิบรากกัญชา CANR1, CANR2, CANW1 และ


            Table 5  The results showed friedelin contents in dried Cannabis sativa L. roots by thin layer chromatography
                    densitometry

              Sample    Sample code    Sample weight   The concentration of friedelin    Friedelin content
                                           (g)          is calculated from a linear   (% w/w)
                                                       equation of Calibration curve
                                                               (  µg/mL)
                 1        CANR1          2.0043               115.756                0.029
                 2        CANR2          2.0042                90.608                0.023
                 3        CANW1          2.0055               104.325                0.026
                 4        CANW2          2.0057                87.560                0.022
                                          mean                                       0.025






                           อภิปรำยผล                    โทลูอีนและคลอโรฟอร์มในอัตราส่วน 7:3 นั้น แยก

                 รากกัญชาเป็นสมุนไพรที่มีศักยภาพเชิงพาณิชย์  องค์ประกอบทางเคมีของสารในสารละลายตัวอย่าง
            และมีประโยชน์ทั้งเป็นยาและเป็นผลิตภัณฑ์สุขภาพ   รากกัญชาได้ไม่ดี แต่เมื่อเปลี่ยนอัตราส่วนเป็น 9:1

            แต่ยังไม่มีวิธีการควบคุมคุณภาพสมุนไพรชนิดนี้   แล้วจะท�าให้เกิดการแยกสารได้ดีกว่าและเหมาะ
            มีรายงานการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ทางด้านเคมี   สมในการแยกสารฟริเดลีน ส�าหรับส่วนผสมของตัว
            เภสัชวิทยาและพิษวิทยามากมายที่สนับสนุนการใช้   ท�าละลายคลอโรฟอร์มและเมทานอลในอัตราส่วน 7:3

            แต่การพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์นั้น ปัจจัยที่ส�าคัญที่ควร  แม้ว่าจะแยกองค์ประกอบทางเคมีของสารได้ดีในช่วง
            ค�านึงถึงคือ ปัจจัยด้านคุณภาพของสมุนไพรเนื่องจาก  แรกแต่เมื่อถึงช่วงที่แยกสารฟริเดลีนนั้นจะแยกได้

            สารออกฤทธิ์ในรากกัญชา ได้แก่ สารฟริเดลีน เป็น  ไม่ดีเพราะแถบของสารฟริเดลีนที่แยกได้มีลักษณะ
            สารประกอบที่พบมากในรากกัญชา การศึกษานี้จึงมี  เป็นแถบหนา
            วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาวิธีวิเคราะห์ปริมาณฟริเดลีน      ในการสกัดรากกัญชานั้นจะเลือกใช้เฮกเซน

            ในรากกัญชาด้วยวิธีเดนซิโทเมทรีโครมาโทกราฟี  เป็นตัวท�าละลายเพราะเฮกเซนมีคุณสมบัติไม่มีขั้ว
            ผิวบาง ซึ่งสามารถสรุปวิธีวิเคราะห์ได้ดังนี้ คือ น�ามา  สูงสามารถละลายสารฟริเดลีนซึ่งมีคุณสมบัติไม่มี

            วิเคราะห์ด้วยเครื่องเดนซิโทมิเตอร์โครมาโทกราฟี  ขั้วสูงเช่นกันออกมาจากรากกัญชาได้มากกว่าเมื่อ
            ผิวบาง พบว่าอัตราส่วนส่วนผสมของตัวท�าละลาย   เปรียบเทียบกับการสกัดด้วยเอทานอล การตรวจหา
   190   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200