Page 128 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 128

344 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 21  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2566





                   Discussion:  Kaeng Liang is a Thai spicy-veggie soup, whose bioactivity studies have been conducted. It
              has previously been reported that it has anti-cancer activity. This study is part of a study on the immunomodulatory
              and anti-inflammatory activities of Thai curries. Previously, the amount of constituents in phenolics and flavo-
              noids, and antioxidant activities of Thai food extracts such as Kaeng Liang, Papaya Salad, and Pad Kaphrao were
              studied. The results of this study confirmed the anti-inflammatory activities of pepper and shallots, which were the
              main ingredients of Kaeng Liang paste. It is suggested that further studies of the mechanism of anti-inflammatory
              activities should be undertaken.
                   Conclusion and Recommendation:  The study has confirmed the anti-inflammatory activity of shallot
              and pepper, the main ingredients of Kaeng Liang paste. Nevertheless, this study was conducted in vitro, further
              investigations on its anti-inflammatory activity in animals, pharmacological aspects and the mechanism of anti-
              inflammatory activities should be undertaken.

                   Key words:  Kaeng Liang, cell viability, anti-inflammatory activity, NF-kB induction





                    บทนำ�และวัตถุประสงค์               ใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ได้มากกว่าการคิดค้นผลิต

                โรคอุบัติใหม่ ก่อให้เกิดความตื่นตัวด้านการ  ยาตามรูปแบบเดิมซึ่งใช้ระยะเวลาที่นานและมีอัตรา
           ค้นหายาใหม่ ทั้งเพื่อช่วยในด้านการส่งเสริมป้องกัน  การประสบความส�าเร็จค่อนข้างน้อย อย่างไรก็ดี การ
           โรค การรักษาพยาบาล และฟื้นฟูร่างกายเมื่อหายจาก  รับประทานสมุนไพรในรูปแบบอาหาร จะเน้นการส่ง

           การเป็นโรคต่าง ๆ ปัจจุบันนักวิจัยจากทั้งในประเทศ  เสริมป้องกันโรคมากกว่าการรักษาโรคที่จ�าเป็นต้อง
           และต่างประเทศต่างมีความสนใจในการน�าสมุนไพร  มีขนาดสารส�าคัญทางยาที่แน่นอน เช่น ในรูปแบบ

           ชนิดต่าง ๆ มาพัฒนาเพื่อใช้ประโยชน์ทางการแพทย์  สารสกัด ซึ่งปริมาณสารส�าคัญตลอดจนวิธีการสกัด
           เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการหายาใหม่เพื่อใช้  มีผลต่อสารออกฤทธิ์และฤทธิ์ของสารสกัด ซึ่งการ
           ในการรักษาและบรรเทาความเจ็บป่วยรูปแบบต่าง ๆ   วิจัยและพัฒนาการใช้ประโยชน์จากต�ารับอาหารไทย

           ประเทศไทยมีภูมิศาสตร์ตั้งอยู่ในเขตศูนย์สูตรท�าให้  ที่มีสมุนไพรเป็นองค์ประกอบหลักในรูปแบบสาร
           มีภูมิอากาศแบบร้อนชื้น ที่เอื้ออ�านวยให้เกิดความ  สกัดนั้นจะเป็นประโยชน์ต่อประเทศไทยในระยะยาว
           หลากหลายทางชีวภาพทั้งสายพันธุ์พืชและสัตว์ เป็น  เนื่องจากท�าให้มีผลิตภัณฑ์สุขภาพที่เป็นของคนไทย

           อันดับต้น ๆ ของโลก และที่ผ่านมาประเทศไทยได้  เพิ่มขึ้น ท�าให้ลดการพึ่งพายาหรือผลิตภัณฑ์จากต่าง
           มีการใช้ทรัพยากรเหล่านี้ผ่านภูมิปัญญาพื้นบ้านใน  ประเทศ เสริมสร้างความแข็งแรงของร่างกายท�าให้
           การน�าสมุนไพรมาใช้รักษาโรค และประกอบเป็น    ลดการเจ็บป่วยที่อาจเกิดขึ้นทั้งจากโรคติดเชื้อและ

           อาหารเพื่อส่งเสริมการป้องกันโรค จนมีต�ารับอาหาร  กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อื่น ๆ อาทิ มะเร็ง ความดัน
           ไทยนานาชนิดที่มีการส่งต่อองค์ความรู้ดังกล่าวมา  โลหิตสูง เบาหวาน เป็นต้น ซึ่งตามแนวทางนี้จะช่วย

           จนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ยังพบว่าการศึกษาวิจัยที่อิง  แก้ไขปัญหาด้านสาธารณสุขของประเทศได้ นอกจาก
           กับภูมิปัญญาที่ได้ส่งทอดกันมานั้น มีโอกาสประสบ  นี้ ผลิตภัณฑ์ที่พัฒนาขึ้นสามารถส่งออกไปจ�าหน่าย
           ความส�าเร็จในการวิจัยและสามารถน�าไปต่อยอดเพื่อ  ยังต่างประเทศเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับประเทศและก่อ
   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133