Page 129 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 129

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 21  No. 2  May-Aug  2023  345




            ให้เกิดห่วงโซ่คุณค่า (Value chain) การกระจายราย  (Allium ascalonicum) มีฤทธิ์ลดการอักเสบและ
                                                                              [8]
            ได้ไปสู่ภาคเกษตรอันจะเป็นการเพิ่มขีดความสามารถ  ต้านมะเร็งในหลอดทดลอง  เป็นต้น อีกทั้งแกง
            ในการแข่งขันของประเทศได้อีกทางหนึ่งด้วย     เลียงเป็นแกงไทยโบราณที่มีกลิ่นหอมและรสชาติ
                 การอักเสบ (inflammation) เป็นกระบวนการ  เป็นเอกลักษณ์ จัดเป็นอาหารที่ดีต่อสุขภาพ ตาม
            ที่ร่างกายตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นที่เป็นอันตรายต่อ  ภูมิปัญญาไทย แนะน�าให้หญิงหลังคลอดรับประทาน

            ร่างกาย เพื่อลด และ/หรือ หลีกเลี่ยงการบาดเจ็บ   เชื่อว่าจะเพิ่มปริมาณน�้านม แกงเลียงประกอบด้วยผัก
            เช่น เชื้อโรค การตายของเซลล์จากการขาดเลือดหรือ  หลายชนิด อาทิ เช่น ฟักทอง บวบ น�้าเต้าอ่อน ต�าลึง
            ขาดออกซิเจน การตอบสนองโดยกระบวนการอักเสบ    หัวปลี ใบแมงลัก พริกไทย กระชาย และหอมแดง เป็น

            ประกอบด้วย การเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือด การ   หลัก นอกจากนี้ ยังปรุงด้วย กะปิ กุ้งแห้ง น�้าปลา และ
            เข้ามาของเซลล์เม็ดเลือดขาว และผลกระทบที่เกิดกับ  กุ้งสด หรือเนื้อสัตว์ จึงเป็นอาหารที่ให้พลังงานไม่สูง
                                                                                              [9]
            ร่างกายทั้งระบบ (systemic effect) ซึ่งกระบวนการ  มาก แต่มีใยอาหารตลอดทั้งวิตามินและเกลือแร่สูง
            อักเสบที่มากเกินไปจะท�าร่างกายถูกกระตุ้นมากเกิน  แกงเลียงจัดเป็นอาหารสุขภาพที่มีรสเผ็ดร้อนจาก
            จนเกิดความไม่สมดุลของอนุมูลอิสระ ท�าให้มีอนุมูล  พริกไทย และกระชาย ที่ช่วยกระตุ้นระบบย่อยอาหาร

            อิสระเกิดขึ้นมาก เกินสมดุล และเกิดภาวะที่เซลล์และ  และระบบไหลเวียนเลือด เหมาะส�าหรับผู้ที่ต้องการ
            ร่างกายถูกออกซิไดซ์ (oxidative stress) จนเป็นจุด  ควบคุมน�้าหนัก ผู้ป่วยโรคเบาหวาน และผู้ป่วยโรค
            เริ่มต้นของโรคเรื้อรัง เช่น โรคมะเร็ง, เบาหวาน รวม  เรื้อรังที่ต้องการเสริมภูมิคุ้มกันโรคแบบธรรมชาติ

            ทั้งเป็นสาเหตุของความรุนแรงของโรคติดเชื้อ เช่น   ปัจจุบันมีบทความหลายฉบับที่รายงานสรรพคุณ
                         [1-2]
            โควิด-19 เป็นต้น                            ตามภูมิปัญญาของแกงเลียงและสมุนไพรที่เป็นส่วน
                 ต�ารับอาหารไทยที่คณะผู้วิจัยเล็งเห็นว่ามี  ประกอบของแกงเลียง ที่นอกจากเป็นอาหารแนะน�า
            ศักยภาพในการวิจัยและพัฒนาในครั้งนี้ คือ แกง  ส�าหรับหญิงหลังคลอดแล้ว ยังแนะน�าให้เป็นอาหาร
            เลียง ซึ่งสมุนไพรที่เป็นองค์ประกอบของต�ารับแกง  ที่สามารถรับประทานได้ตลอดทั้งปี โดยสามารถ

            เลียงมีหลากหลาย ทั้งเครื่องเทศที่เป็นส่วนประกอบ  ปรับเปลี่ยนสัดส่วนของส่วนประกอบของเครื่องแกง
                                                                               [10]
            ของเครื่องแกง และผักที่เติมเพิ่มลงไป สมุนไพรหลาย  ให้เหมาะสมกับฤดูกาลต่าง ๆ  ปัจจุบันมีการผลิต
            ชนิดได้รับการศึกษาวิจัยมาก่อนหน้านี้ว่ามีฤทธิ์ช่วย  เครื่องแกงเลียงเป็นเครื่องแกงส�าเร็จรูปวางขายตาม

            เพิ่มประสิทธิภาพการท�างานหรือกระตุ้นการท�างาน  ร้านสะดวกซื้อและห้างสรรพสินค้าต่าง ๆ และมีการ
            ของระบบภูมิคุ้มกัน โดยปัจจุบันได้มีการรวบรวม  จดสิทธิบัตรสูตรแกงเลียงก้อนเสริมผักและใยอาหาร
            ข้อมูลดังกล่าวไว้ในหนังสือ “อาหารเสริมภูมิคุ้มกัน  ซึ่งเป็นสิ่งประดิษฐ์ส�าเร็จรูปที่ผลิตในรูปแบบพร้อม

            ต้าน COVID-19 ส�าหรับผู้สูงอายุ’’  และคู่มือ “อาหาร  จ�าหน่าย
                                      [3]
                                                              [11]
            สมุนไพรเสริมภูมิคุ้มกันในภาวะที่มีการระบาดของ      อย่างไรก็ตาม เนื่องจากปัจจุบันยังไม่มีการ
            โควิด-19’’  จากหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ พบว่า   ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับฤทธิ์ที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบ
                     [4]
            พริกไทย (Piper nigrum) สามารถเพิ่มการท�างาน  ซึ่งมีผลต่อการเจ็บป่วย และภูมิคุ้มกันโรคของแกง
            ของภูมิคุ้มกันและมีฤทธิ์ต้านมะเร็ง  และหอมแดง   เลียง ดังนั้น การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา
                                       [5-7]
   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134