Page 69 - J Trad Med 21-1-2566
P. 69
J Thai Trad Alt Med Vol. 21 No. 1 Jan-Apr 2023 49
ผลก�รศึกษ� ตารางที่ 3 จำานวน และร้อยละของผู้เข้าร่วมวิจัยผู้ป่วย
โรคลมปลายปัตฆาตสัญญาณ 4 หลัง จำาแนก
1. ผลก�รทดสอบคุณภ�พเครื่องมือ ตามข้อมูลทั่วไป (n = 183)
ผู้เข้าร่วมวิจัยจ�านวน 36 ราย อายุระหว่าง 21-22 ข้อมูลส่วนบุคคล จำานวน (คน) ร้อยละ
ปี มีอายุเฉลี่ย 21 ± 0.44 ปี ได้รับการวัดมุมด้วย เครื่อง เพศ
มือวัดมุม ขณะเงยหน้ามองเพดาน (cervical exten- ชาย 39 21.31
sion) ผลการวิเคราะห์พบว่าเป็นข้อมูลที่มีการแจกแจง หญิง 144 78.69
ปกติ ค่าความน่าเชื่อถือภายในผู้วิจัยมีค่า intra-rater อายุ (ปี)
40-49 74 40.44
correlation coefficient ระหว่าง 0.82-0.88 (p <
50-59 67 36.61
0.05) ในการศึกษานี้จะให้ผู้วิจัยท�าหน้าที่วัดและให้ผู้ 60-69 33 18.03
ร่วมโครงการวิจัยร่วมกันอ่านค่าและบันทึกผล ภาย 70-79 8 4.47
หลังจากผู้เข้าร่วมวิจัยได้รับการตรวจวินิจฉัยจาก ≥ 80 1 0.55
แพทย์แผนไทยประยุกต์ สถานภาพสมรส
โสด 36 19.67
2. ผลก�รศึกษ�ในผู้เข้�ร่วมวิจัยผู้ป่วยโรคลม มีคู่สมรส 129 70.50
ปล�ยปัตฆ�ตสัญญ�ณ 4 หลัง หม้าย/อย่าร้าง 18 9.34
ระดับการศึกษา
2.1 ข้อมูลทั่วไป จ�านวนผู้เข้าร่วมวิจัยที่
ตำ่ากว่าปริญญาตรี 125 68.31
เข้าร่วมโครงการศึกษานี้ 183 ราย เป็นเพศหญิง ปริญญาตรีขึ้นไป 58 31.69
ร้อยละ 78.69 มีอายุระหว่างระหว่าง 40-49 ปี
(ร้อยละ 40.44) มากที่สุด มีอายุเฉลี่ย 55.68 ± 12.75
ปี สถานภาพสมรสมากที่สุด (ร้อยละ 70.50) ระดับ ใหญ่ (ร้อยละ 47.54)
การศึกษาต�่ากว่าปริญญาตรีมากที่สุด (ร้อยละ 68.31) 2.3 ข้อมูลการตรวจร่างกายผู้เข้าร่วมวิจัย พบ
และประกอบอาชีพแรงงานมากที่สุด (ร้อยละ 64.48) ว่า ผู้เข้าร่วมวิจัยทุกรายมีจุดกดเจ็บบริเวณบ่า ต้นคอ
(ตารางที่ 3) อย่างน้อย 1 จุด องศาการก้มหน้าคางชิดอก (cervical
2.2 ข้อมูลสุขภาพของผู้เข้าร่วมวิจัย พบว่า ผู้ flexion) ปกติทุกราย (ร้อยละ 100) องศาการเอียงคอ
เข้าร่วมวิจัยมีอาการของโรคเรื้อรัง ≥ 6 เดือน มาก หูชิดไหล่ (cervical lateral bending) พบว่าข้างที่เป็น
ที่สุด (ร้อยละ 40.44) ผู้เข้าร่วมวิจัยเป็นโรคลมปลาย โรคมีองศาน้อยกว่าข้างปกติ (ร้อยละ 20.22) ขณะที่
ปัตฆาตสัญญาณ 4 หลัง ข้างขวา มากที่สุด (ร้อยละ การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยจากการวัดมุมด้วยเครื่องมือวัด
65.57) มีอาการปวดมากที่สุดในช่วงเวลาท�างาน มุมขณะเงยหน้า พบค่าเฉลี่ยข้างที่เป็นโรคน้อยกว่า
(ร้อยละ 45.35) มีระดับของอาการปวด ในระดับ ข้างปกติและสอดคล้องกับการสังเกตด้วยสายตาที่
[32]
ปานกลางมากที่สุด (ร้อยละ 63.39) และผู้เข้าร่วมวิจัย พบโหนกแก้มข้างที่เป็นโรคต�่ากว่าข้างปกติขณะเงย
มีดัชนีมวลกาย ≥ 23 กิโลกรัม/ตารางเมตรเป็นส่วน หน้ามากที่สุด (ร้อยละ 53)