Page 67 - J Trad Med 21-1-2566
P. 67
J Thai Trad Alt Med Vol. 21 No. 1 Jan-Apr 2023 47
motor reflex) ของทารกคลอดก่อนก�าหนด (preterm กึ่งกลางของร่องริมฝีปากบน (philtrum) เป็นแกนนิ่ง
infant) เปรียบเทียบกับทารกคลอดครบก�าหนด (stationary arm; ภาพที่ 1ข.) และใช้จุดที่สูงที่สุดของ
[27]
(term infant) โดยให้ผู้เข้าร่วมวิจัยนั่งบนเก้าอี้ที่ โหนกแก้ม (highest point of zygomatic bone) เป็น
มีพนักพิงหลังและมีที่วางแขน ในท่านั่งหลังตรง หน้า แขนเคลื่อนไหว (moving arm; ภาพที่ 1ค.) ท�าการวัด
มองตรง เท้าสัมผัสพื้น (ภาพที่ 1ก.) เมื่อผู้วิจัยบอกให้ ทั้งสองข้าง ข้างละ 3 ครั้ง (แต่ละครั้งพัก 2 นาที) โดย
ผู้เข้าร่วมวิจัยเงยหน้ามองเพดานจะท�าการวัดโดยใช้ ผู้ร่วมโครงการวิจัยเป็นผู้ร่วมอ่านค่าและบันทึกผลลง
ปุ่มปลายคาง (mental protuberance) ซึ่งตรงกับจุด ในตาราง (ตารางที่ 1)
ภาพที่ 1 การเตรียมวัดมุมโดยให้ผู้เข้าร่วมวิจัยนั่งบนเก้าอี้ที่มีพนักพิงหลัง นั่งหลังตรง หน้ามองตรง เท้าสัมผัสพื้น (ก.)
ทำาการวัดมุมโดยให้ผู้เข้าร่วมวิจัยเงยหน้ามองเพดานแล้วใช้ mental protuberance ซึ่งตรงกับ philtrum) เป็น
stationary arm (ข.) แล้วเลื่อน movable arm ไปยัง highest point of zygomatic bone (ค.)
ตารางที่ 1 ตารางบันทึกผลการวัดองศาการเงยหน้าด้วย goniometer
1. ระบุข้างที่เป็นโรค ( ) ข้างขวา ( ) ข้างซ้าย
2. ผลการสังเกตองศาการเงยหน้าด้วยสายตา พบว่า ระดับโหนกแก้มข้างที่เป็นโรค ( ) สูงกว่า ( ) ตำ่ากว่า เมื่อเทียบกับ
ข้างปกติ
3. ผลการวัดมุมด้วยเครื่อง goniometer
3.1 การวัดมุมข้างที่เป็นโรคฯ ข้าง .................. (ระบุข้าง) 3.2 การวัดมุมข้างปกติ ข้าง .................. (ระบุข้าง)
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ค่าเฉลี่ย ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ค่าเฉลี่ย
สรุปผล โหนกแก้มข้างที่เป็นโรค ............... (ระบุข้าง) มีค่าเฉลี่ยองศา ( ) สูงกว่า ( ) ตำ่ากว่าข้างปกติ ............. (ระบุข้าง)
จึงสรุปว่า โหนกแก้มข้างที่เป็นโรค ( ) สูงกว่า ( ) ตำ่ากว่าข้างปกติ ซึ่งทางหัตถเวชกรรมไทยระบุว่าผู้ป่วยมีภาวะ
( ) หินปูนเกาะกระดูกคอ ( ) กระดูกคอทรุด จึงนำาส่งผู้ป่วยไปทำาการตรวจทางรังสีวินิจฉัย เพื่อเปรียบเทียบผลกับการ
ตรวจทางรังสีวินิจฉัยเป็นลำาดับต่อไป