Page 74 - J Trad Med 21-1-2566
P. 74

54 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2566




                ภาวะกระดูกคอเสื่อม เกิดจากความเสื่อมของ  process) จะท�าให้เกิดภาวะ intervertebral foramen
           หมอนรองกระดูกสันหลัง (intervertebral disc) และ  narrowing ขณะที่ภาวะกล้ามเนื้อเกร็ง (muscle

           ข้อต่อฟาเซ็ท (facet joint) ซึ่งเสี่ยงต่อการสร้างปุ่ม   spasm) จากการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อหรือ myofas-
           กระดูกงอก กดทับรากประสาทคอ (cervical  spon-  cial pain syndrome จะกระตุ้นภาวะกระดูกเสื่อม
           dylotic radiculopathy) โดยที่ภาวะดังกล่าวจะแสดง  โดยรบกวนซี รีแอคทีฟ โปรตีน (C-reactive protein)

           อาการของโรคทีละข้าง โดยขึ้นอยู่กับปัจจัยกระตุ้นใน  ก่อให้เกิดการระคายเคืองและการอักเสบของเนื้อเยื่อ
           ขณะนั้นว่ามีปัญหาต่อรากประสาทบริเวณกระดูกคอ  รอบ ๆ intervertebral foramen ท�าให้ interver-
           ข้างใด ซึ่งผู้ป่วยจะมีอาการปวดต้นคอ โดยมีอาการ  tebral foramen narrowing และกดทับราก

           ปวดแผ่ร้าว หรืออาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อแขนข้าง  ประสาท [19-20,34-40]  ได้เช่นกัน ซึ่งพยาธิสภาพและอาการ
           ที่เป็น แต่ถ้าปุ่มกระดูกงอกกดทับไขสันหลัง (cervical   ที่กล่าวมาข้างต้นจึงอาจมีส่วนสัมพันธ์กับลักษณะ
           spondylotic myelopathy) จะท�าให้ช่องไขสันหลัง  อาการโรคลมปลายปัตฆาตสัญญาณ 4 หลัง ทางหัตถ

           แคบ (vertebral foramen narrowing) ซึ่งอาจ   เวชกรรมไทย [1-6]
           พบความผิดปกติของการทรงตัวหรือเดินล�าบาก         ผู้เข้าร่วมวิจัยจ�านวน 16 ราย (ร้อยละ 8.75) ที่

           ได้ [19-20,33-34,39-40]  ขณะที่การตรวจพบภาวะ interverte-  แปลผลการตรวจทางรังสีวินิจฉัยว่าปกตินั้น แท้จริง
           bral foramen narrowing เป็นภาวะที่เกิดจากความ  แล้วทุกรายตรวจพบภาวะผิดปกติดังนี้ straighten-
           เสื่อมสภาพของแผ่นรองกระดูกสันหลัง (interverte-  ing of cervical curve, slight decrease cervical

           bral disc) การบาดเจ็บเรื้อรังของคอจากอุบัติเหตุหรือ  curve และ decrease cervical curve ซึ่งเมื่อผู้ป่วย
           การท�างาน ก่อให้เกิดความเสื่อมสภาพของนิวเคลียส   อาการดีขึ้นภาวะความผิดปกติเหล่านี้สามารถกลับคืน

           พัลโพสุส (nucleus pulposus) รวมถึงการฉีกขาด  เป็นปกติได้ [39-40]  ขณะที่ผลการตรวจร่างกายทางหัตถ
           ของแอนนูลัส ไฟโบรซัส (annulus fibrosus) ด้วย   เวชกรรมไทยในผู้เข้าร่วมวิจัยกลุ่มนี้จากการคล�า พบ
           ปัญหาดังกล่าวส่งผลต่อความมั่นคงของกระดูกคอ  ความแข็งเกร็งและจุดกดเจ็บบนกล้ามเนื้อบ่า ต้นคอ

           เนื่องจากเอ็น (ligament) ที่ยึดกระดูกคอหย่อนยาน   ซึ่งจุดกดเจ็บที่คล�าพบนี้สัมพันธ์กับการจ�ากัด CROM
           เพราะแผ่นรองกระดูกสันหลังแคบลงเรื่อย ๆ กระทั่ง  ในขณะก้มหน้า เงยหน้า และเอียงศีรษะ จึงสังเกตพบ
           ปล้องกระดูกสันหลังแต่ละปล้องชิดกันแล้วกดทับเยื่อ  โหนกแก้มข้างที่เป็นโรคสูงหรือต�่ากว่าข้างปกติและ

           หุ้มกระดูก (periosteum) ท�าให้เส้นเลือดฝอยบริเวณ  สอดคล้องกับค่าเฉลี่ยองศาการเงยหน้าสูงหรือต�่ากว่า
           นั้นแตก ห้อเลือด หรือมีเลือดออก เกิดการสะสมของ   ข้างปกติจากการวัดมุมด้วยเครื่องมือวัดมุมเป็นที่น่า
           ปุ่มกระดูกงอกพอกตัวหนาขึ้น ถ้าปุ่มกระดูกงอก  สนใจส�าหรับการศึกษาในอนาคตว่า เมื่อน�าผู้เข้าร่วม

           สะสมด้านข้างของข้อต่ออังโคเวอร์ติบรัล (uncover-  วิจัยที่ตรวจพบความผิดปกติทางรังสีวินิจฉัยข้างต้น
           tebral joint) จะท�าให้ข้อต่อนี้แคบลง และกดทับราก  ไปรับการบ�าบัดทางหัตถเวชกรรมไทย ภาวะความผิด

           ประสาทที่ผ่านมาจาก intervertebral foramen หรือ  ปกติเหล่านี้สามารถกลับคืนเป็นปกติได้หรือไม่
           การงอกของปุ่มกระดูกงอกที่ยูซิเนท โพรเซส (ucinate
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79