Page 71 - J Trad Med 21-1-2566
P. 71
J Thai Trad Alt Med Vol. 21 No. 1 Jan-Apr 2023 51
Lt. ขณะที่การตรวจพบภาวะความผิดปกติ มีดังนี้ ตีบแคบ (narrowing of C3-4, C4-5, C5-6 foramen)
(1) กระดูกคอปล้องที่ 3-4 เสื่อม (degenerative (5) โพรงรากประสาทระหว่างกระดูกคอปล้องที่ 3-4,
change of C3-4) (2) กระดูกคอปล้องที่ 3-5 เสื่อม 4-5 และโพรงรากประสาทระหว่างกระดูกคอปล้องที่
(degenerative change of C3-5) (3) กระดูกคอ 7 กับปล้องกระดูกอกชิ้นที่ 1 ตีบแคบ (narrowing of
ปล้องที่ 3-6 เสื่อม (degenerative change of C3- C3-4, C4-5, C7-T1 foramen) (6) โพรงรากประสาท
6) (4) กระดูกคอปล้องที่ 3-7 เสื่อม (degenerative ระหว่างกระดูกคอปล้องที่ 4-5 ตีบแคบ (narrowing
change of C3-7) (5) กระดูกคอปล้องที่ 4 เสื่อม of C4-5 foramen) (7) โพรงรากประสาทระหว่าง
(degenerative change of C4) (6) กระดูกคอ กระดูกคอปล้องที่ 4-5 และ 5-6 ตีบแคบ (narrow-
ปล้องที่ 4-5 เสื่อม (degenerative change of C4-5) ing of C4-5, C5-6 foramen) (8) โพรงรากประสาท
(7) กระดูกคอปล้องที่ 4-6 เสื่อม (degenerative ระหว่างกระดูกคอปล้องที่ 5-6 ตีบแคบ (narrowing
change of C4-6) (8) กระดูกคอปล้องที่ 4-7 เสื่อม of C5-6 foramen) (9) โพรงรากประสาทระหว่าง
(degenerative change of C4-7) (9) กระดูกคอ กระดูกคอปล้องที่ 5-6, 6-7 ตีบแคบ (narrowing of
ปล้องที่ 5 เสื่อม (degenerative change of C5) C5-6, C6-7 foramen) และ (10) โพรงรากประสาท
(10) กระดูกคอปล้องที่ 5-6 เสื่อม (degenerative ระหว่างกระดูกคอปล้องที่ 6-7 ตีบแคบ (narrowing
change of C5-6) (11) กระดูกคอปล้องที่ 5-7 เสื่อม of C6-7 foramen) ซึ่งผู้เข้าร่วมวิจัยแต่ละคนในกลุ่ม
(degenerative change of C5-7) (12) กระดูกคอ นี้ตรวจพบภาวะความผิดปกติดังที่กล่าวมามากกว่า
ปล้องที่ 6 เสื่อม (degenerative change of C6) หรือเท่ากับ 1 อย่าง ทั้งสิ้น 88 ราย (ร้อยละ 91; n = 97)
(13) กระดูกคอปล้องที่ 6-7 เสื่อม (degenerative สรุปผลการตรวจทางรังสีวินิจฉัยพบว่าผู้เข้า
change of C6-7) (14) ภาวะกระดูกคอโก่ง (kypho- ร่วมวิจัยทุกราย (ร้อยละ 100) มี normal vertebral
sis; reverse cervical curve) (15) ภาวะความแอ่น height symmetry Rt. = Lt แต่ตรวจพบภาวะความ
ของกระดูกคอลดลง (decrease lordotic cervical ผิดปกติมากกว่าหรือเท่ากับ 1 อย่าง ทั้งสิ้น 167 ราย
curve) และ (16) ภาวะความแอ่นของกระดูกคอเพิ่ม (ร้อยละ 91; n = 183) ขณะที่ผลการตรวจของผู้เข้า
ขึ้น (hyperlordosis of cervical curve) ผลการ ร่วมวิจัยบางรายพบภาวะความผิดปกติที่กลับคืน
ตรวจท่าเฉียงขวา และเฉียงซ้าย พบความผิดปกติ (reverse) เป็นปกติได้ เมื่อผู้ป่วยมีอาการดีขึ้น ได้แก่
ดังนี้ (1) โพรงรากประสาทระหว่างกระดูกคอปล้อง ภาวะกระดูกคอตรง (straightening of cervical
ที่ 2-3 ตีบแคบ (narrowing of C2-3 foramen) (2) curve) ภาวะความโค้งของปล้องกระดูกคอลดลง
โพรงรากประสาทระหว่างกระดูกคอปล้องที่ 3-4 ตีบ (decrease cervical curve) และภาวะความโค้งของ
แคบ (narrowing of C3-4 foramen) (3) โพรงราก ปล้องกระดูกคอลดลงเล็กน้อย (slight decrease
ประสาทระหว่างกระดูกคอปล้องที่ 3-4, 4-5 ตีบแคบ cervical curve) หรือผลการตรวจปกติ จ�านวนทั้ง
(narrowing of C3-4, C4-5 foramen) (4) โพรงราก สิ้น 16 ราย (ร้อยละ 9)
ประสาทระหว่างกระดูกคอปล้องที่ 3-4, 4-5 และ 5-6