Page 66 - J Trad Med 21-1-2566
P. 66

46 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2566




           2559 จ�านวน 998 ราย เพื่อค�านวณขนาดตัวอย่างจาก  คออักเสบเฉียบพลัน (acute neck strain) (2) สตรี
           สูตร ดังนี้                                 ตั้งครรภ์และระยะหลังคลอด (3) การอักเสบติดเชื้อ

                             TP  +  FN                 ของกระดูกคอ (4) วัณโรคกระดูก (Pott’s disease)
                  N (sN)  =
                                    P                  (5) อาการปวดคอแบบ neurogenic pain (radicu-

                                  (SN (1 – SN))        lopathy), สาเหตุจาก Hangman’s fracture, tear
                  TP + FN  =  z 2
                                5
                                                   W 2  drop sign (6) โรคและความผิดปกติทางเมแทบอลิซึม
                จากสูตรดังกล่าวก�าหนดให้ค่าดังนี้      (metabolism) เช่น ภาวะฮอร์โมนพาราไทรอยด์
                  sN = sensitivity = 80%(0.8)          สูง (hyperparathyroidism) และโรคข้ออักเสบ

                  W = error = 7.5% (0.075)             รูมาตอยด์ (rheumatoid arthritis)
                  P = ค่าความชุกของการเกิดเหตุการณ์ซึ่ง     เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินองศาการเงยหน้า:

           จากฐานข้อมูลพบว่ามีการเกิดเหตุการณ์ 60% (0.6   เป็นเครื่องมือที่ใช้ประเมินความสูงหรือต�่าของโหนก
           จากการบันทึกข้อมูลของผู้วิจัยพบว่า ร้อยละ 60 ของ  แก้มข้างที่เป็นโรคเมื่อเทียบกับโหนกแก้มข้างปกติ
           ผู้ป่วยที่มีอาการของโรคลมปลายปัตฆาตสัญญาณ 4   ขณะผู้เข้าร่วมวิจัยเงยหน้าโดยใช้เครื่องมือวัดมุมที่

           หลัง ที่เป็นโรคนี้ข้างใดข้างหนึ่ง เมื่อตรวจโดยให้ผู้ป่วย   ผ่านการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ มีขั้นตอน
           เงยหน้ามองเพดาน มักตรวจพบโหนกแก้มข้างที่เป็น  การด�าเนินงานดังนี้ ดังนี้
           โรคสูงหรือต�่ากว่าข้างปกติ) เมื่อแทนค่าลงในสูตรข้าง       1.1   ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ คณะผู้วิจัย

           บนจะได้จ�านวนตัวอย่างเท่ากับ 183 ราย ผ่านการคัด  ได้สั่งซื้อเครื่องมือวัดมุมแบบไม้บรรทัดจากร้านเรือน
           เลือกเข้าโครงการโดยมีคุณสมบัติดังนี้ (1) ผู้ป่วยที่ได้  กานดา ร้านค้าสวัสดิการ ผลิตภายใต้การก�ากับของ

           รับการวินิจฉัยโรคลมปลายปัตฆาตสัญญาณ 4 หลัง   คณะกายภาพบ�าบัด มหาวิทยาลัยมหิดล คณะผู้วิจัย
           จากแพทย์แผนไทยประยุกต์ (2) มีอาการโรคข้างใด  ได้ตรวจสอบรายละเอียดของเครื่องมือ โดยทดสอบ
           ข้างหนึ่งเท่านั้น และเจ็บป่วยจากโรคมากกว่าหรือ  การใช้โดยผู้วิจัยซึ่งมีประสบการณ์ในการวัดองศา

           เท่ากับ 6 เดือน (ตรงตามข้อบ่งชี้ส�าหรับการตรวจทาง  การเคลื่อนไหวของคอ (cervical range of motion;
           รังสีวินิจฉัยเพื่อประเมินพยาธิสภาพของกระดูกคอ)   CROM) และมีประสบการณ์ในการประกอบวิชาชีพ

           (3) มีอายุ 40 ปีขึ้นไป สื่อสาร ฟัง พูด ภาษาไทยได้  การแพทย์แผนไทยประยุกต์ 12 ปี
           เข้าใจ (4) ไม่มีประวัติตรวจพบพยาธิสภาพของระบบ       1.2   การทดสอบคุณภาพเครื่องมือโดย
           กล้ามเนื้อและโครงกระดูก (5) ไม่มีประวัติการบาด  ศึกษาการวัดมุมในผู้เข้าร่วมวิจัยนิสิตแพทย์แผนไทย

           เจ็บจากอุบัติเหตุบริเวณหลังตอนบน คอ ศีรษะ และ  ประยุกต์จ�านวน 36 ราย คัดเลือกผู้เข้าร่วมวิจัยโดยการ
           ใบหน้า (6) ไม่มีประวัติการผ่าตัดบริเวณหลังตอนบน   สุ่มตามความสะดวก (convenience sampling) [24-26]
           คอ ศีรษะ และใบหน้า (7) ไม่เป็นโรคมะเร็งกระดูก  โดยผู้วิจัยได้ดัดแปลงวิธีการวัดมุมโหนกแก้มมา

           คอหรือมะเร็งที่แพร่กระจายมาจากอวัยวะอื่น ๆ (8)   จากการศึกษาของอินซี่ (Ince) และคณะ ซึ่งท�าการ
           สมัครใจและยินยอมเข้าร่วมโครงการวิจัย เกณฑ์การ  ศึกษาการวัดมุมปากด้วยเครื่องมือวัดมุม รวมถึงการ
           คัดออกจากการศึกษาคือ (1) ผู้ป่วยที่มีภาวะกล้ามเนื้อ  ประเมินการตอบสนองของมอเตอร์ในช่องปาก (oral
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71