Page 65 - J Trad Med 21-1-2566
P. 65

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 1  Jan-Apr  2023  45




            ปุ่มกระดูกงอก เช่น ถ้ากดทับรากประสาทบริเวณคอ  ดังกล่าวมีความเกี่ยวข้องหรือสัมพันธ์กับพยาธิสภาพ
            ข้างใด มักจะแสดงอาการของโรคข้างนั้น เป็นต้น [19-21]   ของกระดูกคอตามทฤษฎีนี้หรือไม่ เพราะยังไม่เคยมี

                 ปัจจุบันการรักษาโรคทางระบบกล้ามเนื้อและ  การศึกษาทางรังสีวินิจฉัย
            โครงกระดูกด้วยการแพทย์แผนไทยถือเป็นที่ยอมรับ     การศึกษานี้จึงมีความสนใจในการประเมิน
            และได้รับความนิยมจากประชาชนอย่างแพร่หลาย    องศาการเงยหน้าด้วยการสังเกตเปรียบเทียบกับ

            โดยเฉพาะการบ�าบัดโรคทางหัตถเวชกรรมไทย ซึ่ง  การวัดด้วยเครื่องมือวัดมุม (goniometer) ขณะ
            คลินิกการแพทย์แผนไทยประยุกต์ โรงพยาบาลสุทธาเวช    เงยหน้า โดยพิจารณาระดับโหนกแก้มจากองศาการ
            คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็น     เงยหน้าระหว่างข้างที่เป็นโรคเปรียบเทียบกับข้าง

            หน่วยงานที่ได้บูรณาการการรักษาผู้ป่วยร่วมกับ   ปกติ ศึกษาผลการตรวจทางรังสีวินิจฉัย วิเคราะห์
            สหวิชาชีพ จากสถิติประจ�าปี พ.ศ. 2560-2562 พบผู้ป่วย   ความสัมพันธ์ระหว่างผลการตรวจทางรังสีวินิจฉัย
            ที่ได้รับการวินิจฉัยโรคลมปลายปัตฆาตสัญญาณ   และทฤษฎีทางหัตถเวชกรรมไทย ได้แก่ ค่าความ

            4 หลัง มีแนวโน้มสูงขึ้น จากจ�านวน 829 ราย (พ.ศ.   ไว (sensitivity) และค่าความแม่นย�า (accuracy)
            2560) เป็น 949 ราย (พ.ศ. 2561) และ 998 ราย (พ.ศ.   เพื่อรายงานผลการศึกษาเป็นแนวทางในการพิจารณา

                         [22]
            2562) ตามล�าดับ  ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีอายุ 40 ปีขึ้นไป   ผู้ป่วย การประเมินผู้ป่วย รวมถึงการบูรณาการในการ
            เป็นเพศหญิงมากว่าเพศชาย มักมีอาการของโรคข้าง  ตรวจรักษาผู้ป่วยร่วมกับสหวิชาชีพต่อไป
            ขวา โดยประกอบอาชีพไม่ใช้แรงงานเป็นส่วนใหญ่ ผู้

            ป่วยเหล่านี้ได้รับการตรวจวินิจฉัยเพื่อประเมินพยาธิ      ระเบียบวิธีศึกษ�
            สภาพก่อนการรักษา ประกอบด้วย การดูลักษณะ

            ทั่วไป การคล�าแนวกระดูกสันหลัง การคล�าหาจุดกด  1. วิธีก�รศึกษ�
            เจ็บบริเวณหลังตอนบน บ่า ต้นคอ และจุดสัญญาณ       เป็นการศึกษาเชิงทดสอบวินิจฉัย (diagnostic
            4, 5 หลัง การตรวจองศาการเคลื่อนไหวของคอ ได้แก่   test) โครงการนี้ได้ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการ

            การเอียงคอหูชิดไหล่ การหันหน้า การก้มหน้าคางชิด  วิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เลขที่
            อก (cervical flexion) โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเงยหน้า  137/2561 แบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ตอน ดังนี้
            มองเพดาน (cervical extension) นอกจากเป็นการ      1.  การศึกษาทางหัตถเวชกรรมไทย: ผู้เข้า

            ประเมินองศาและความอ่อนตัวของกล้ามเนื้อและ   ร่วมวิจัยเป็นผู้ป่วยโรคลมปลายปัตฆาตสัญญาณ 4
            กระดูกคอแล้ว ยังถือเป็นทฤษฎีการพยากรณ์โรคทาง  หลัง ที่มารับการรักษาที่คลินิกการแพทย์แผนไทย
            หัตถเวชกรรมไทย ที่ระบุว่า ถ้าโหนกแก้มข้างที่เป็นโรค  ประยุกต์ โรงพยาบาลสุทธาเวช คณะแพทยศาสตร์

            สูงกว่าข้างปกติ เกิดจากหินปูนเกาะกระดูกคอ ขณะที่  มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ในระหว่างเดือนมกราคม-
            การตรวจพบโหนกแก้มข้างที่เป็นโรคต�่ากว่าข้างปกติ  ธันวาคม พ.ศ. 2562 การค�านวณหาขนาดตัวอย่าง

                                                                             [23]
            นั้นเกิดจากกระดูกคอทรุด [1,3-5]  ซึ่งเมื่อตรวจผู้ป่วย  จากสูตรของโจนส์ (Jones)  โดยน�าเอาสถิติผู้ป่วย
            กลุ่มนี้ด้วยวิธีการดังกล่าวมักพบโหนกแก้มข้างที่เป็น  ที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์แผนไทยประยุกต์ด้วย
            โรคสูงหรือต�่ากว่าข้างปกติอยู่เสมอ โดยไม่ทราบว่าผล  โรคลมปลายปัตฆาตสัญญาณ 4 หลัง ตลอดปี พ.ศ.
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70